ยางหมากกะถุน

“พ่อเฒ่า ! ข้อยเบิ่งเจ้าคล้ายกับคนมีความเหงา เก็บกดเนาะ! หรือว่า เจ้าอยากได้เมียใหม่ ?” บักคำถามแบบแย็บหมัดตรง “มึงฮู้ได้จั้่งได๋วะ ? ที่จริงพ่อก็อยากได้เมียใหม่อยู่” พ่อเฒ่าช้างเว้าอ้อมแอ้ม แล้วว่าต่อ “พ่ออยากได้เมียเป็นสาวน้อยว่ะ...แม่ฮ้างนางหม้ายพ่อบ่เอ๋าเด้อ!”

เมืองฮม เมืองโบราณกว่า ๔๐๐ ปี ของลาว

ษุภมัสตุ พระราชอาจญาลายจุ้มสมเด็จบรมบพิตรพระเปนเจ้าตนเปน พระทรงพระราชกรูณาลูกพระยาขวาง ให้เอาหมู่ซุมแต่พ่อไปตั้งในเมืองฮม เขตแดนไร่นา งวดค่าอากรหลางกับเมืองฮมมีท่อใดให้จัดตราเอาทั้งมวล อันใดหลางขึ้นราชโกฎให้นำมาถวายตามจารีต

พิธีกรรมหลังความตายในครั้งบรรพกาลของชาวอุษาคเนย์

เรื่องราวพิธีกรรมหลังความตายในอดีตของชาวอุษาคเนย์ ถูกบันทึกไว้ในนิทานน้ำเต้าปุ้ง กล่าวถึงการปลงศพด้วยการเผาและการฝังมีการส่งข้าวปลาอาหารให้ผู้ตายเหมือนครั้งยังมีชีวิต

แม่ผู้เพาะต้นกล้าภาษา และวัฒนธรรมไทยในสวิส

“แม่ ใจเย็น ๆ แม่รอคิวก่อน” เสียงเด็กชายหน้าตาฝรั้งฝรั่ง จับมือแม่บอกแม่ใจเย็น ๆ ถ้าเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่ท่าตูม เมืองสุรินทร์ หรือที่กรุงเทพ ย่อมไม่แปลก แต่ที่แม่ลูกยืนคุยกันอยู่นั้นคือที่ เมืองเวททิงเง่น รัฐอาร์เกา สวิตเซอร์แลนด์

กิ น ก้ อ ย ซี้ น

พ่อเฒ่ากิ เป็นผู้ใหญ่บ้านที่เข้มแข็ง เป็นคนเอาการเอางานดีมาก ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในอำเภอจะรู้จักแกดี หากมีงานสำคัญ ๆ ในอำเภอก็มักจะเรียกใช้แกเป็นแม่งานหลัก ผู้ใหญ่กิ แกมีถิ่นกำเนิดอยู่ “ทางอีศาน”

ผญา – ยอดวรรณกรรมอีสาน

ผญา เป็นสำนวนคำพูดที่ไพเราะ คมคายลึกซึ้ง สละสลวย คนอีสานนั้นเป็นคนมีโวหาร เจ้าบทเจ้ากลอน พูดจาเป็นคำคม มีสัมผัสคล้องจอง ไพเราะ น่าฟัง ไม่ว่าจะเป็นโอวาท คำสั่งสอน คำตักเตือน ห้ามปราม หรือคำเกี้ยวพาราสีของหนุ่มสาวอีสานในอดีต สมัยโบราณนั้นคนอีสานมักพูดเป็นสำนวนภาษาแบบผญาเป็นส่วนมาก
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com