นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 115

ปิดเล่ม ทางอีศาน ๑๑๕

“…เรามีความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ และสังคม และการจัดสรรทรัพยากรอย่างมหาศาล ท่านทราบไหมครับว่า ๕๐ ปีที่แล้ว ตอนเริ่มแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ถ้าเราแบ่งคนไทยเป็น ๕ กลุ่ม กลุ่มละ ๒๐% คนจนที่สุดของประเทศไทยในปี ๒๕๐๔ เมื่อเริ่มแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ ๑ นั้น เป็นเจ้าของรายได้ประชาชาติ ๔% คนรวยที่สุดอยู่ด้านบน ๒๐% ของประเทศนั้นเป็นเจ้าของรายได้ประชาชาติเกือบ ๖๐%

ธรรมนูญประชาชน

เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ไทย นับวันยิ่งมีรายได้ลดน้อยลง แต่หนี้สินกลับพอกพูน สังคมเต็มไปด้วยอภิสิทธิ์อิทธิพล เศรษฐกิจถูกผูกขาด ข้ารัฐการไร้คุณภาพขาดคุณธรรม ระบบเผด็จการครองเมืองมายาวนาน ทั้งมหาอำนาจต่างแย่งยื้อกันเข้าครอบงำยิ่งขึ้น จึงนำเสนอ “ธรรมนูญประชาชน” เพื่อต้านยัน รุกคืน สร้างความกินดีมีสุข และความเจริญรุ่งเรือง

นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 115

นิตยสาร “ทางอีศาน” ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑๑๕ ประจำเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๔ ฉบับธรรมนูญประชาชน

ภาพปก : เพลิง วัตสาร

เรื่องเด่นในฉบับ :

• การเมืองท้องถิ่นฐานรากประชาธิปไตย – “เสรี พพ”

• อุดร ตันติสุนทร การวางรากฐานการจัดการตนเอง : การปกครองส่วนท้องถิ่นไทย – ทิพย์พาพร ตันติสุนทร

• เปิดใจ “พงศ์ โปงลางสะออน” กับตำแหน่งนายกเทศมนตรีตำบลบ้านค้อ – “แดง ชบาบาน”

• กำนันนักเพลง สมจิตร คชฤทธิ์ : รำวงสระบุรี – สมปอง ดวงไสว

• พรศักดิ์ ส่องแสง : ขุนพลเพลงลูกทุ่ง – หมอลำอีสาน ตำนานไอ้หนุ่มแขนซ้ายลายมังกร – “เจน อักษราพิจารณ์”

• ข้างสำรับ “Little C” สู่ “ลูกชิ้นยืนกิน” ฟีเว่อร์ : ปรากฏการณ์นิยมอาหารหวานคาวบนทางอีศาน – ธันยพงศ์ สารรัตน์

• เพลิง วัตสาร “ผู้เปี่ยมศรัทธา และเปี่ยมสุข ณ วิมานบ้านนา” – กอง บ.ก.

• กวี : ชาตรี เสงี่ยมวงศ์, “บุญมา ภูเม็ง”, เสรี ทัศนศิลป์, “บุญผลา แสงดาวดั้ง”, นิตา มาศิริ, วัชระ บุญทานัง, ปรัชวิชญ์ บุญยะวันตัง, พร้อมทั้งมีผญา นวนิยาย บทกวี การ์ตูน ภาพวาด พ่อเฒ่ากับลูกเขย สาระบันเทิงเข้มข้น ครบครัน

📚

ราคาเล่มละ ๑๐๐ บาทสมัครสมาชิก ครึ่งปี ๖๐๐ บาทหนึ่งปี ๑,๑๐๐ บาทตลอดชีพ ๙,๕๐๐ บาท (ได้รับหนังสือย้อนหลัง)

📍

สั่งซื้อ// ชำระเงิน // สอบถามเพิ่มเติม ได้ทาง

inbox หนังสืออีศาน m.me/166200246799901 

line id : @chonniyom (มี@) คลิก https://lin.ee/amxqtvW

shopee : https://shp.ee/ji8x6b5

LnwShop : https://www.thaibookfair.com/seller/chonniyom-eshann 

ทั้งนี้นิตยสาร “ทางอีศาน” เปิดให้ผู้สนใจเข้าไปอ่านหัวข้อข่าว เรื่องราวเด่น ๆ หรือดาวน์โหลดใบสมัครสมาชิก รวมถึงร่วมเสนอความคิดเห็น อ่านรายละเอียดและสมัครเป็นสมาชิกได้ที่ https://e-shann.com/..ขอขอบคุณที่ร่วมสร้าง “ทางอีศาน” เพื่อสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน และเพื่อประคับประคองงานหนังสือให้ยืนหยัดอยู่ได้

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com