นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 74

วัฒนธรรมแถน (๖) พิธีส่งแถน

“ส่ง” คือการทำพิธีสังเวย เพื่อส่งเครื่องบริโภคเครื่องบูชาไปถึงผู้มีอำนาจเหนือธรรมชาติ เมื่อคนหรือบ้านเมืองประสบเคราะห์กรรม ซึ่งไม่อาจจะรักษาหรือแก้ไขได้ตามปกติ เชื่อกันว่าผู้มีอำนาจเหนือธรรมชาติเป็นผู้ทำให้เกิดเคราะห์กรรมนั้น จึงส่งเครื่องสังเวยบูชาไปให้เพื่อขอความเมตตาช่วยให้คนหายจากการเจ็บป่วย พ้นจากความทุกข์ ช่วยให้บ้านเมืองพ้นจากภัยพิบัติต่าง ๆ

บทกวี โบยบินจากความกลัว

หรือคุณซ่อนตัวอยู่ในนั้น ณ ที่มีความฟุ้งฝันขลาดเขลา หลบเร้นใต้มุมอับสลัวเงา มิอาจที่จะเอาชนะความกลัว นานเท่านานลืมกาลเวลา เคยไหม...เยี่ยมมองฟ้าถ้วนทั่ว ถึงแดดสาดแสงไล่ความมืดมัว หม่นหมองในตัวยังกักขังกลืนกิน

ที่นี่…เมืองบางขลัง : ปฐมบทแห่งชาติไทย

เมื่อกล่าวถึง “เมืองบางขลัง” ตำบลเล็ก ๆ ตำบลหนึ่งที่ซ่อนตัวอยู่ในพื้นที่อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย น้อยคนนักที่จะรู้จัก รู้ถึงประวัติความเป็นมาของเมืองโบราณแห่งนี้ เมืองที่ถือกำเนิดขึ้นมาร่วมสมัยกับเมืองเก่าสุโขทัย เมืองเก่าศรีสัชนาลัย เมืองที่ปรากฏอยู่ในหน้าประวัติศาสตร์อย่างกระท่อนกระแท่นแต่ก็ทรงไว้ซึ่งความสำคัญ

ทางอีศาน 74 : ข่วงบักจุก

"นี่ท่านเลขา..ชาวนาเขาส่งบั้งไฟขึ้นมาขอฝนอีกแล้ว ช่วยจัดการให้พวกเขาโดยเร็ว""พวกเขาขอเพิ่มอีกอย่างที่ไม่มีรัฐบาลไหนช่วยได้ เขาว่างั้น""ให้ช่วยอะไรอีกรึ""อยากได้ข้าวเกวียนละสองหมื่นพะยะค่ะ!"

บทกวี หินหายใจ

เมื่อหินไม่ใช่หิน แอบซ่อนศิลปะเสริม ธาตุแท้แต่ดั้งเดิม ได้พูนเพิ่มเติมความหมาย เหลือซากร่วมฝากทรง ความสูงส่งแห่งผงทราย แตกดับเกินลับหาย แตกช่อลายขึ้นหายใจ

สาวคำม่วงรอรัก

...มีพล็อตเรื่องราวเกี่ยวกับสาวผู้ไทหลายเพลง บังเอิญคิดถึงคำพูดของแม่บ้านผู้ไทกาฬสินธุ์ที่อยากให้แต่งเพลงกาฬสินธุ์บ้าง ก็คิดหาพล็อตจะเริ่มจากไหนดี นึกถึงสาวผู้ไทคิดถึงผ้าไหมแพรวาต้นกำเนิดมาจากอำเภอ “คำม่วง” คิดประโยคแรกของเพลงขึ้นต้นได้ว่า “วิจิตรสดใส ผ้าไหมอำเภอคำม่วง พี่หลงใหลเหมือนใจโดนบ่วง ห้วงเหวรักเพียงได้ยิน”

“งันขอนผี” ผีสร้างคู่ ฟื้นประเพณี สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง

“แต่ก่อนงานศพไม่เหมือนปัจจุบัน ศพเราจะวางเอาไว้บนตะแค่ไม้หรือไม่ก็วางบนพื้นบ้านแต่ละหลังอยู่ห่างกันมาก ทำให้การเดินทางแต่ละครั้งนั้นก็จะเกิดความกลัว ไฟฟ้าก็ไม่มี มืดก็มืด มีเพียงตะเกียงเจ้าพายุนำทาง ดังนั้นพวกหนุ่มสาวแต่ก่อนจึงจะจับกลุ่มกันเดินทางไปบ้านงาน พอไปถึงบ้านงานบรรยากาศในงานก็น่ากลัวศพก็ไม่ได้อยู่ในโลงเพราะแต่ก่อนมันไม่มี มันจึงเกิดงันขอนผี และ งันเฮือนดีขึ้นมา”

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๗๔
ปีที่ ๗ ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๖๑
นิตยสารรายเดือนของชาวอีสานและคนไททุกภูมิภาค
ลึกซึ้งรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต

ขบวนนักเขียนเวียนมา “ทางอีศาน” ช่วง มูลพินิจ, สุรินทร์ ภาคศิริ, สันติ เศวตวิมล, ทองแถม นาถจำนง, ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์, สมปอง ดวงไสว, ธีรภาพ โลหิตกุล, เด่นชัย ไตรยะถา, สมพงษ์ ประทุมทอง, “จุก ชายคา”, วรวิทย์ ตงศิริ, ชาตรี เสงี่ยมวงศ์, “บรรณวัชร”, “เจน อักษราพิจารณ์”, ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ, ประสิทธิ์ ไชยชมพู, ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์, ธันยพงษ์ สารรัตน์, ชินวัฒน์ ตั้งสุทธิจิต, ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์, สหภพ ปานทอง, สุพัฒน์ เจริญสรรพพืช, พรพล ปั่นเจริญ, เพ็ญศรี นิลโสม, “อิหล่า”, สิริรัตน์ฎา น้อยวิชัย, ธวัชชัย พิณะพงษ์, และกวี นักเขียน นักวาด ทั่วไทย

เนื้อหาในเล่ม :
๑ เขียนมนุษย์ | ช่วง มูลพินิจ ผีตองเหลืองจอมจักรวาล
๓ บทบรรณาธิการ | ปรีดา ข้าวบ่อ เมืองไทยดั่งสวรรค์ เมื่อข้าราชการทรงเกียรติ
๖ สาส์นจากทางอีศาน
(๑) ไต้เทียนของแผ่นดิน แด่ ครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์
(๒) นักเขียน “ทางอีศาน” สมพงษ์ ประทุมทอง – “เวศม์ เวฬุคาม”
(๓) โครงการสำนึกรักบ้านเกิด และกิจกรรมมอบทุนการศึกษา
๑๐ เฮือนชานศิลปิน | กอง บ.ก. ศราวุธ ดลราศรี “ผู้บันทึกภาพก่อนเปลี่ยนผ่านไปกับกาลเวลา”
๑๒ ห้องศิลป์อีศาน | ธีรภาพ โลหิตกุล เผยโฉมผู้สร้างปรากฏการณ์ ณ บ้านปิน
๑๗ เขียนแผ่นดิน | เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ สนป่า
๑๘ จดหมาย | น้าพร, ถมยา พิชัยกุล, รำพัง กาศนอก
๒๐ อะคาเดมีชีวิต | รศ.ดร.เสรี พงศ์พิศ ผ้าย้อมคราม กับสงครามกรุงทรอย
๒๒ ผญาสมัย | ชาตรี เสงี่ยมวงศ์ ฝนเทวา
๒๔ ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท | ชลธิรา สัตยาวัฒนา (๖) สาวด้ำปางบรรพ์ : ‘ด้ำนาย-ด้ำปู่’
๓๐ ชาติพันธุ์ | พรพล ปั่นเจริญ ปาก๊ก 巴国
๓๔ ข่วงบักจุก | “จุก ชายคา”
๓๕ วัฒนธรรมแถน | ทองแถม นาถจำนง (๖) วัฒนธรรมแถน
๔๐ บทความ | วิทยา เกษรพรหม ที่นี่…เมืองบางขลัง : ปฐมบทแห่งชาติไทย
๔๘ ท่องเที่ยววัฒนธรรม | สาวิตรี ตลับแป้น มัณฑเลย์… สะพานข้ามกาลเวลา ตอนที่ ๑
๕๖ ภูมิบ้านนามเมือง | “เขาบังภู” ปราณบุรี กะเปอร์
๖๐ ตามรอยโลกมลายู | ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์ สัมพันธ์พุทธ – ฮินดู – อิสลาม ที่เมืองโบราณยะรัง
๖๕ บทกวี | “สิริวตี” ชีวิตคือการเฝ้ารอ
๖๖ วิถีผู้ไท | เพ็ญศรี นิลโสม (๒๕) เฆี่ยนเขย (๒)
๗๐ เปิดผ้าม่านกั้ง | ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ รอยพระพุทธบาทในตำนานอุรังคธาตุ
๗๕ สัมภาษณ์ | กอง บ.ก. ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์ นักเขียน นักวิจัย และนักบริหาร
๘๕ บทกวี | “มิส มัสลิน” “โบยบินจากความกลัว”
๘๖ ข่าวคนอีศาน | “เวศม์ เวฬุคาม”
๙๔ นักสู้ลูกข้าวเหนียว | นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ศิวรักษ์ เทศสูงเนิน ปราการด่านสุดท้าย…วางใจได้ ของบุรีรัมย์ และทีมชาติไทย
๙๖ เวทีพี่น้อง | รัฐธิติ เจนวิริยะกุล “งันขอนผี” ผีสร้างคู่ ฟื้นประเพณี สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง
๙๙ บทกวี | ภิรเดช แก้วมงคล น้อมส่งสการครูบาสุทธินันท์ สู่ฟ้าเมืองแถน
๑๐๐ บทความ | ธวัชชัย พิณะพงษ์ (๑) บันทึกการสำรวจวิถีชีวิตลุ่มน้ำเสียวใหญ่
๑๐๙ เสียงเมือง | “ทิดโส สุดสะแนน” พิณ แคน ซอ โปงลาง โหวด
๑๑๒ ลูกเถ้าแก่บ้านนอก | สุรินทร์ ภาคศิริ (๓๒) สาวคำม่วงรอรัก
๑๑๕ มนต์เพลงสองฝั่งโขง | “บรรณวัชร” “สิลิพอน-เพ็ดดาวอน” นักล่าฝัน…ไร้พรมแดน
๑๑๙ นอกเครื่องแบบ | สมพงษ์ ประทุมทอง วรรคทองในวรรณกรรมเพื่อชีวิต เพื่อประชาชน (ตอน ๒ พ.ศ.๒๕๐๘ – ๒๕๑๙)
๑๒๔ นักเขียนอีสาน | “เจน อักษราพิจารณ์” สามทศวรรษกลุ่มวรรณกรรมลำน้ำมูล
๑๓๐ สาส์นลึบให้สูญ | “บุญมา ภูเม็ง” วังกระแสกับแหอำนาจ
๑๓๒ แม่ช้อยนางรำ | สันติ เศวตวิมล (๑๙) น้ำแห่งชีวิต
๑๓๕ ศัพท์เพเหระ | ประสิทธิ์ ไชยชมพู ริดสีดวง
๑๓๖ ลานข่วงคำกวี | “บุญผลา แสงดาวดั้ง” ผ้าไหมหนองปลาหมอ, บ้านเกิดเมืองนอน, อำนาจความหิว, นกเจ่ากับนกกระเต็น
๑๓๘ เพชรในโพสต์ | กอง บ.ก. จารึกชื่อ “กํมร เตงฺ อฺญ ไท”
๑๓๙ นวนิยาย | ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ ลายแถนฟ้า ตอน ๑๗
๑๔๓ หงายหลังถ่วน | “ปลัดตื้อ” ตกปลาในโอ่ง
๑๔๔ เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย | “ชัด การชนะ” / ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์ ติดตาม!
๑๔๕ เที่ยวพิพิธภัณฑ์ต่างแดน | ชินวัฒน์ ตั้งสุทธิจิต มิวเซียมเกงจิว เมืองแห่งกวนอูและแหล่งสัมฤทธิ์
๑๕๒ เฮฮาสาระ | สหภพ ปานทอง ตลาดโบราณ
๑๕๔ มรดกวัฒนธรรมจากบ้านจิมฯ | “ศิรเทพ๑๑๐๗๘” เทพนม
๑๕๘ บทกวี | โชคชัย บัณฑิต’ หินหายใจ
๑๖๐ ปิดเล่ม | กอง บ.ก.

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com