นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 75

ขี้ลืม

พ่อเฒ่าลมถือพร้าจะออกไปทุ่งนาบ้างแกเดินทางผ่านป่าละเมาะ แกเกิดปวดท้องขี้ขึ้นมากะทันหัน! ก็เลยจะขี้ที่ป่าละเมาะนั่นซะเลย พ่อเฒ่าลมทิ้งพร้าลงบนพื้นดิน แกถอดกางเกงนั่งยอง ๆ ลง แล้วขี้! ในขณะที่แกนั่งขี้อยู่นั้น พ่อเฒ่าลมเหลือบเห็นพร้าเล่มที่แกทิ้งวางไว้ต่อหน้าแกนั่นแหละ! แกลืมและจำไม่ได้ แกเข้าใจว่าเป็นพร้าคนอื่นลืมทิ้งไว้!

การเรียนรู้และการสืบทอดภูมิปัญญา (๑)

เมื่อประมาณปี ๒๕๒๗ ที่อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น มีการพบปะทุกเดือนของหมอยาพื้นบ้าน ๑๒๓ คน โดยการประสานงานของเรด บาร์นา องค์กรพัฒนาเอกชนต่างชาติดำเนินงานโดยคนไทย โดยมีคุณอภิชาต ทองอยู่ และคุณยงยุทธ ตรีนุชกร เป็นหัวเรือใหญ่

การ์ตูนข่วงบักจุก : จุกชายคา ทางอีศาน 75

"พอเสร็จหน้านา คนอีสานบ้านเฮาส่วนใหญ่ก็ว่างงาน" "ไม่ต้องห่วงหลายคนเขาขยัน ไม่ปล่อยเวลาสูญเปล่า เขาไปไกลระดับโลกแล้ว" "ไปทำงานต่างประเทศ" "เล่นพนันฟุตบอลโลก"

ส่ อ ง ซ อ ด

ถ้าการเรียนรู้คือหัวใจ ชุมชนจะพบว่า สิ่งที่สำคัญและยิ่งใหญ่กว่าเงิน คือ ความรู้ อย่างที่ปู่ย่าตายายเคยสอนไว้ว่า “มีวิชาเหมือนมีทรัพย์อยู่นับแสน”

มัณฑเลย์… สะ พา น ข้า ม กา ล เ ว ลา ตอนจบ

ภายในพระตำหนักไม้สัก เรียกได้ว่ามีการแกะสลักทั้งหลัง ด้านในยังมองเห็นทองคำที่ปิดไว้อร่ามงามตา พระเจ้ามินดงเป็นกษัตริย์ผู้สร้างพระราชวังมัณฑเลย์ (พ.ศ.๒๔๐๐) พระตำหนักแห่งนี้จึงทรงคุณค่าอย่างมาก หลังจากพระองค์สวรรคตในพระตำหนักนี้ (พ.ศ.๒๔๒๑)

คำโตงโตย

“มี่หลุกเม้าเน้ซ้อน ลักล้อนจ่างแผดปิ่น มีโว่ค่ายก้อเม้าจ่างเหล่ง ก๊าตั๊กสิงฮ้ายหน่าย มีเม่เม้าจ่างหักก็ ก๊าตีกผักย้านกั่น”

อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : แผนการจาริก (๑)

หากโลกนี้มีเวทมนตร์สิ่งนั้นเห็นจะเป็น “แม่น้ำโขง” ที่เบื้องหน้าของฉันนี่เอง ก็จะไม่ให้เรียกว่าเวทมนตร์ได้อย่างไร ลองนึกถึงความมหัศจรรย์ของมันดูสิ จากเกล็ดหิมะเล็ก ๆ บนดินแดนหลังคาโลก เมื่อโดนความร้อนจากแสงตะวันจึงค่อย ๆ เปลี่ยนสถานะเป็นหยดน้ำเล็ก ๆ ที่รวมกันจนเป็นลำธาร

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๗๕
ปีที่ ๗ ประจำเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๑
นิตยสารรายเดือนของชาวอีสานและคนไททุกภูมิภาค
ลึกซึ้งรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต

เรื่องเด่น :
– ตลาดสดอีสาน : วัฒนธรรมการกินที่มีเอกลักษณ์ สุวิทย์ ธีรศาศวัต และคณะ
– สัมภาษณ์ คุณหมอณัฐวุฒิ มาสาซ้าย นายแพทย์ผู้ใฝ่รู้ประวัติศาสตร์และเทใจให้บ้านเกิด
– อุรังคธาตุ-นิทานพเนจร นัทธ์หทัย วนาเฉลิม
– ภาพจำลองอุตตรกุรุทวีปในพิธีศพชาวอีสาน ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ
– พ่อเฒ่ากับลูกเขย ขี้ลืม, หงายหลังถ่วน เต้ยโศก

เนื้อหาในเล่ม :
๑ เขียนมนุษย์ | ช่วง มูลพินิจ ฉันรักเธอ
๓ บทบรรณาธิการ | ปรีดา ข้าวบ่อ ปักหลักให้แน่น แก่นต้องมี
๖ สาส์นจากทางอีศาน (๑) เกิด แก่ เจ็บ ตาย (๒) กิจกรรมหลักของนิตยสาร/มูลนิธิทางอีศาน และวงดนตรีอีศานคลาสสิกคณะ “หมาเก้าหาง” (๓) การบำรุงสมาชิกและระดมสมาชิกเพิ่ม
๙ เขียนแผ่นดิน | เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ธาตุขามแก่น
๑๐ เฮือนชานศิลปิน | กอง บ.ก. รชตะ กาญจนสุนทร “ผู้สัมผัสได้ถึงแสงเงาชีวิต”
๑๒ ห้องศิลป์อีศาน | ธีรภาพ โลหิตกุล ช่างงามงด คชลักษมี
๑๗ สาส์นลึบให้สูญ | “บุญมา ภูเม็ง” ส่อแส่
๑๘ จดหมาย | ภูมิภัทร นามเชียงใต้, สุบรรณ เชษฐา
๒๐ อะคาเดมีชีวิต | รศ.ดร.เสรี พงศ์พิศ การเรียนรู้และการสืบทอดภูมิปัญญา (๑)
๒๔ ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท | ชลธิรา สัตยาวัฒนา (๗) ความหลากเลื่อนของภาษา กับความหมายของคำ “ใหญ่-ยาย-นาย”
๒๘ ชาติพันธุ์ | พรพล ปั่นเจริญ ปาก๊ก 巴国 (จบ)
๓๒ ข่วงบักจุก | “จุก ชายคา”
๓๓ วัฒนธรรมแถน | ทองแถม นาถจำนง (๗) แถน ในวัฒนธรรมสายไทหลวง (ไทใหญ่, ไทมาว, ไทอาหม ฯลฯ)
๔๐ อุรังคธาตุ-นิทานพเนจร | นัทธ์หทัย วนาเฉลิม (๑) แผนการจาริก
๔๔ ผญาสมัย | ชาตรี เสงี่ยมวงศ์ ทางเมือบ้าน
๔๖ ท่องเที่ยววัฒนธรรม | สาวิตรี ตลับแป้น มัณฑเลย์… สะพานข้ามกาลเวลา ตอนจบ
๕๔ ภูมิบ้านนามเมือง | “เขาบังภู” ภูมิโปน อาโพน เซโปน เซบาย เซกอง (๑)
๕๘ หงายหลังถ่วน | “ปลัดตื้อ” เต้ยโศก
๕๙ สัมภาษณ์ | กอง บ.ก. คุณหมอณัฐวุฒิ มาสาซ้าย นายแพทย์ผู้ใฝ่รู้ประวัติศาสตร์และเทใจให้บ้านเกิด
๗๑ นักสู้ลูกข้าวเหนียว | นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ บัวขาว ผิวดำ น้ำใจงามซ่อนอยู่ในความดุดัน
๗๒ ไผว่าอีศานฮ้าง | สมปอง ดวงไสว พรหมลิขิต ลมไธสง : ศิลปินปูนปั้นแชมป์ประเทศไทย
๗๖ เวทีพี่น้อง | ไพรัตน์ แย้มโกสุม อนุสาวรีย์เจ้าแก้วมงคล
๘๑ บทความพิเศษ | ธันยพงศ์ สารรัตน์ ของขวัญจากฟ้าสู่ดิน : พระมหากรุณาธิคุณในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ต่องานด้านประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมของชาติ
๙๑ บทกวี | ปริญญญ์ สระปัญญา อิทัปปัจจยตา (เพราะสิ่งนั้นมี สิ่งนี้จึงไม่มี)
๙๒ ตามรอยโลกมลายู | ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์ ชาวลังกาสุกะสื่อสารด้วย “ภาษามลายู”
๙๗ บทกวี | กันย์นรา พิชาพร ร้อน ฝน หนาว
๙๘ เปิดผ้าม่านกั้ง | ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ ภาพจำลองอุตตรกุรุทวีปในพิธีศพชาวอีสาน
๑๐๓ บทกวี | ณ ดาว ลูกจันทร์ ในความคิดถึง
๑๐๔ บทความ | ธวัชชัย พิณะพงษ์ (๒) บันทึกการสำรวจวิถีชีวิตลุ่มน้ำเสียวใหญ่
๑๑๕ เสียงเมือง | “ทิดโส สุดสะแนน” ฝากไว้ในแผ่นดินถิ่นอีสาน
๑๑๘ ลูกเถ้าแก่บ้านนอก | สุรินทร์ ภาคศิริ (๓๓) เพลงเน่า และเพลงเป็นหมัน
๑๒๑ มนต์เพลงสองฝั่งโขง | “บรรณวัชร” “สุรสีห์ ผาธรรม” ผู้ชุบชีวิต “เพลงบ้านนาลาว”
๑๒๔ นักเขียนอีสาน | “เจน อักษราพิจารณ์” สามทศวรรษกลุ่มวรรณกรรมลำน้ำมูล (๓)
๑๓๐ แม่ช้อยนางรำ | สันติ เศวตวิมล (๒๐) หลอกลิ้นว่ามีรส
๑๓๒ ศัพท์เพเหระ | ประสิทธิ์ ไชยชมพู บายเสฺร็ย บายสฺรี บายศรี
๑๓๔ ลานข่วงคำกวี | “บุญผลา แสงดาวดั้ง” มาลาดง…, บ้านเกิดเมืองนอน, ฝนมา ลากรุง, แข้หางยาว กระต่ายหางก้อม
๑๓๖ เพชรในโพสต์ | กอง บ.ก. พิธีบวชควายจ่า
๑๓๘ เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย | “ชัด การชนะ” / ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์ ขี้ลืม
๑๓๙ นวนิยาย | ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ ลายแถนฟ้า ตอน ๑๘
๑๔๖ บทความ | สุวิทย์ ธีรศาศวัต, บัวพันธ์ พรหมพักพิง, สมศรี ชัยวณิชย, นิลวดี พรหมพักพิง และจักรพงษ์ เสือจันทร์ ตลาดสดอีสาน : วัฒนธรรมการกินที่มีเอกลักษณ์
๑๕๒ เฮฮาสาระ | สหภพ ปานทอง ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลา-เรียน-รู้
๑๕๔ มรดกวัฒนธรรมจากบ้านจิมฯ | “ศิรเทพ๑๑๐๗๘” พระพุทธรูปไม้สมัยอยุธยา
๑๕๘ บทกวี | “กุดจี่” – พรชัย แสนยะมูล “เสียงที่ทำให้น้ำตาไหล”
๑๖๐ ปิดเล่ม | กอง บ.ก.

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com