นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 80

ปรากฏการณ์ภาษาอีสาน

ภาษาอีสานกำลัง “ฮิต” ทั้งในละครทีวี ในเพลงลูกทุ่ง สื่อวิทยุและสื่อสังคม นับเป็นปรากฏการณ์ที่น่าสนใจ ดาราน้อยใหญ่ที่ไม่ใช่ลูกอีสานต้องหัดออกเสียงสำเนียงอีสานให้ได้ นักร้องลูกทุ่งก็ต้องหาพี่เลี้ยงฝึกฝนจนร้องได้เนียน ๆ เหมือนคนอีสาน

ฝูงซอมบี้ ฟุตปาธ ชะตากรรม

หยดหยาดเข้มข้นนั้น ไหลหลั่งลงมาจากใบหน้าฉัน สีแดงไม่ต่างจากสีแดงของแถบสีขาวแดง ของสัญญาณห้ามจอดที่ทาไว้ขอบฟุตปาธ ตรงที่หน้าฉันถูกกระแทกอย่างแรง

แซ่บนัว หัวม่วน

เป็นที่เชื่อถือกันมาช้านานว่าปัจจัยสี่อันประกอบด้วย อาหาร ยารักษาโรค ที่อยู่อาศัย และเครื่องนุ่งห่ม เป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญในการดำรงชีวิต นอกจากนี้ ปัจจัยสี่ยังเป็นสิ่งบ่งชี้ถึงวิถีวัฒนธรรมที่ปรุงปรับสอดรับกับสภาพธรรมชาติแวดล้อมที่มนุษย์ตั้งถิ่นฐาน ปัจจัยสี่จึงให้ภาพสะท้อนสำคัญของการดำรงชีวิตมนุษย์ในวิถีธรรมชาติ

ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน ตอนที่ 2

“เวียงจันทน์เศร้า สาวเอยอย่าฟ้าวว่า มันสิโป้บาดหล่า บักแตงช้าง หน่วยปลาย เวียงจันทน์เศร้า เป็นโพนหมาขี้จอก บาดว่า บางกอกฮ้าง ยังสิได้เพิ่งเวียง ดอกนาฯ”

ตลาดคำไฮ : ตลาดเย็นที่ใหญ่ที่สุดของขอนแก่นกับความหลากหลายทางวัฒนธรรมการกิน

ก่อนเกิดตลาดคำไฮ เมืองขอนแก่นมีตลาดสดอยู่แล้ว ๔ ตลาด ตลาดแรกคือ ตลาดเทศบาล ๑ ซึ่งเดิมตั้งอยู่ตรงโรงหนังขอนแก่นตรงข้ามธนาคารไทยพาณิชย์สาขาขอนแก่น ถนนศรีจันทร์ในปัจจุบัน ตั้งตลาดนี้ราว ๆ ปี ๒๔๕๐ (รัชกาลที่ ๕) ต่อมาในปี ๒๔๙๘ เกิดไฟไหม้ใหญ่ตลาดขอนแก่น จึงย้ายมาตั้งตรงเรือนจำซึ่งให้ย้ายออกไป แล้วตั้งตลาดเทศบาลแทนซึ่งอยู่มาถึงปัจจุบัน

อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : บุกดอยนันทกังฮี – ๒ (๖)

ฮอยบาทพระเจ้าอยู่นี่ มีอยู่บ่เอื้อย” พนักงานต้อนรับของโรงแรมและมัคคุเทศก์สาวชาวลาวเวียงที่รอลูกค้าอยู่ในโถงล็อบบี้พร้อมใจกันย้อนถาม เมื่อฉันถามถึงตำแหน่งที่ตั้งของรอยพระพุทธบาท

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์ ไม่ไป ไม่ผิด แต่น่าเสียดาย

เพียงแค่แลดูรูปทรงสถาปัตยกรรมของตัวอาคาร ก็ได้ใจ ชวนให้เข้าไปชมอย่างไม่ลังเลใจเลย เข้าไปแล้วก็ไม่ผิดหวัง เพราะนำเสนอความเป็นมาจากอดีตถึงปัจจุบันของสุรินทร์อย่างตั้งอกตั้งใจ ไม่ใช่แค่เอาของเก่ามาวางกองให้ดูรก ๆ แล้วเข้าใจว่านั่นคือสิ่งที่เรียก “พิพิธภัณฑ์”

ไซ่ง่อน : พิพิธภัณฑ์ความเจ็บปวดแห่งสงครามอเมริกา

ยุทธการฝนเหลืองเครื่องบินรบ หวังจะพบเวียดกงในดงป่า หลังใบร่วงควงหล่นเบื้องบนฟ้า ภาพฝนเหลืองหลั่งมาจากฟ้าไกล

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๘๐
ปีที่ ๗ ประจำเดือนธันวาคม ๒๕๖๑
นิตยสารรายเดือนของชาวอีสานและคนไททุกภูมิภาค
ลึกซึ้งรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต

เรื่องเด่น :
– เติม สิงหัษฐิต “การปกครองหัวเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”
– สุมาลี โพธิ์พยัคฆ์ “ท่าพระ” เมืองนี้ที่อยากให้ไปเยือน
– “ดวงจันทร์ ศรีหยก” ชวนชิมอาหารพื้นบ้าน “ข้าวปาดงานบุญ”
– ศรายุทธ วังคะฮาต เที่ยวงานวัดถิ่นผู้ไท สุขใจอิ่มบุญที่ก้านเหลืองดง
– ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ พาไป “แซ่บนัว หัวม่วน” งานจิม ทอมป์สัน ฟาร์ม ทัวร์

เนื้อหาในเล่ม :
๑ เขียนมนุษย์ | ช่วง มูลพินิจ ต้นไม้นิพพาน
๓ บทบรรณาธิการ | ปรีดา ข้าวบ่อ สงครามที่ไม่หลั่งเลือด
๖ สาส์นจากทางอีศาน
(๑) สุวรรณี สารคณา ศิลปินผู้สร้างความสุข ความอบอุ่นให้ครอบครัว
(๒) โครงการอีศานมีเดีย “ต้องการรู้เรื่องอีสาน พิมพ์คำว่า ทางอีศาน” (๓) เรียนรู้ – อนุรักษ์และฟื้นฟูประชากรเสือโคร่ง
(๔) ประชาสัมพันธ์กิจกรรมเครือข่ายเพื่อนมิตร ๑๐ ห้องศิลป์อีศาน | ธีรภาพ โลหิตกุล พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์ไม่ไป ไม่ผิด แต่น่าเสียดาย
๑๓ ตามรอยโลกมลายู | ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์ วัดริมทะเล วิหารบนหินผาและหัวใจในอากาศ
๑๘ จดหมาย | หมึกด้ำ พยัคฆภูมิ (ผอ.วิเชียร บริบูรณ์)
๒๐ อะคาเดมีชีวิต | รศ.ดร.เสรี พงศ์พิศ ปรากฏการณ์ภาษาอีสาน
๒๔ ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท | ชลธิรา สัตยาวัฒนา (๑๒) “เชิญลงเยอ เชิญเจ้าลงเยอ…เชิญนางแต่งฮูปี่ฮูแคน ลูกสะแนนให้ดังถูกต้อง”
๒๙ ผญาสมัย | ชาตรี เสงี่ยมวงศ์ หินช้างสี
๓๐ ชาติพันธุ์ | พรพล ปั่นเจริญ ตระกูลภาษา “ไท – กะได” กับ ไป่เยวี่ย (๓)
๓๕ รายงานทางอีศาน | สุมาลี โพธิ์พยัคฆ์ “ท่าพระ” เมืองนี้ที่อยากให้ไปเยือน
๔๒ ภูมิบ้านนามเมือง | “เขาบังภู” ดงประคำ (พิษณุโลก) ปะคำ (บุรีรัมย์) ปะโค (โคราช) ปะโค (ชัยภูมิ) ปะโค (หนองคาย) ปะโค (กุดจับ, กุมภวาปี จ.อุดรธานี) พะโค (พม่า) ปะโกะ (ลาว) – (๒)
๔๘ บทความพิเศษ | ธันยพงศ์ สารรัตน์ “หลวงพ่อโตคู่บ้าน” : ศรีสะเกษในปฏิมากรรมหลวงพ่อโต วัดมหาพุทธาราม อำเภอเมืองฯ จังหวัดศรีสะเกษ
๕๙ บทกวี | โชคชัย บัณฑิต’ ไซ่ง่อน : พิพิธภัณฑ์ความเจ็บปวดแห่งสงครามอเมริกา
๖๐ รายงานทางอีศาน | ศรายุทธ วังคะฮาต เที่ยวงานวัดถิ่นผู้ไท สุขใจอิ่มบุญที่ก้านเหลืองดง
๖๔ สุภาษิตขแมร์ ฉบับ พ.ศ.๒๔๖๗ | กอง บ.ก. สุภาษิตโบราณ (๓)
๖๗ อุรังคธาตุ-นิทานพเนจร | นัทธ์หทัย วนาเฉลิม (๖) บุกดอยนันทกังฮี – ๒
๗๖ รายงานทางอีศาน | “แคน ลำโขง” ไขป่องเอี่ยมเยี่ยมเบิ่งลาว ตามฮอยศรัทธาญาคูขี้หอม (๓)
๘๐ แม่ช้อยนางรำ | สันติ เศวตวิมล (๒๕) อาหารอิสลามในประวัติศาสตร์ไทย
๘๔ เสียงเมือง | “ทิดโส สุดสะแนน” ผิดที่ผิดทาง ผิดจังหวะ การนำเสนอที่ขาดทักษะ
๘๗ ลูกเถ้าแก่บ้านนอก | สุรินทร์ ภาคศิริ (๓๘) “หางเครื่อง” วงดนตรี
๙๐ นักเขียนอีสาน | “เจน อักษราพิจารณ์” สโมสรนักเขียนภาคอีสาน : ตำนานคนวรรณกรรมจากที่ราบสูง (๓)
๙๖ ศัพท์เพเหระ | ประสิทธิ์ ไชยชมพู หมูกะโดล
๙๗ ไผว่าอีศานฮ้าง | “สมปอง ดวงไสว” แสงธรรมส่องทางที่วังเวียง
๑๐๒ นักสู้ลูกข้าวเหนียว | นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ อดิศักดิ์ ไกรษร สร้างตำนานทีมไทย
๑๐๔ เปิดผ้าม่านกั้ง | ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ แซ่บนัว หัวม่วน
๑๐๙ สาส์นลึบให้สูญ | “บุญมา ภูเม็ง” ฤดูกางดาง
๑๑๒ บทความ | ธวัชชัย พิณะพงษ์ (๗) บันทึกการสำรวจวิถีชีวิตลุ่มน้ำเสียวใหญ่
๑๑๘ การปกครองหัวเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | เติม สิงหัษฐิต เมืองนครจำปาศักดิ์ (๑)
๑๒๔ ลานข่วงกวี | “บุญผลา แสงดาวดั้ง” เกี่ยวเป็นขี้เหมี้ยง, คำถามยามหนาว
๑๒๕ นวนิยาย | อุดร ทองน้อย ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน – สอง –
๑๓๒ เวทีพี่น้อง | รติรัตน์ รถทอง ตลาดมหาชัย ตลาดสัตว์น้ำที่ใหญ่ที่สุด
๑๓๕ บทความ | สุวิทย์ ธีรศาศวัต และบัวพันธ์ พรหมพักเพิง ตลาดคำไฮ : ตลาดเย็นที่ใหญ่ที่สุดของขอนแก่น กับความหลากหลายทางวัฒนธรรมการกิน
๑๔๔ บทกวี | “ละอองฝน” ฤดูหนาวรัก
๑๔๕ รายงานพิเศษ | กมล หอมกลิ่น ฮักบ้านเกิด ความสุขอยู่ที่บ้านเรา
๑๔๘ อาหารพื้นบ้าน | “ดวงจันทร์ ศรีหยก” ขนมพื้นบ้านโบราณ ข้าวปาดงานบุญ
๑๕๒ เฮฮาสาระ | สหภพ ปานทอง ยาและอาหาร
๑๕๔ มรดกวัฒนธรรมจากบ้านจิมฯ | “ศิรเทพ๑๑๐๗๘” พระพุทธรูปนั่ง ทวารวดียุคเก่า ที่บุรีรัมย์
๑๕๘ เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย | “ชัด การชนะ” สีธงชาติ
๑๕๙ ปิดเล่ม | กอง บ.ก.

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com