นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 16

ฝันเห็นไก่ แปลเป็นเลข ๐๒

หลาน... “พ่อใหญ่ ข้อยฝันว่าได้กินต้มไก่เจ้าลองแปลเบิ่ง เจ้าว่ามันสิออกเลขได๋...”พ่อใหญ่... “กูว่า ไก่นี่ มันต้องแปลเป็น ๐๒ หรือ ๒๐ นี่หละบักทิด”หลาน... “เป็นหยังจั่งเป็น ๐๒ หรือ ๒๐ ไก่นี่ข่อยว่าต้อง ๙ ได๋”พ่อใหญ่... “ไผบอกมึง บักผีบ้า ไก่นี่บ่มีเป็นอย่างอื่น ๐๒ หรือ ๒๐ ท่อนั้น มึงเชื่อกู”

มะละกอ, “บักหุ่ง” : สร้างชีวิต สร้างชาติ

คนอีสานตั้งแต่ยุคสมัยสร้างบ้านแปงเมือง และพัฒนามาถึงปัจจุบันนี้ มีชีวิตอยู่กับธรรมชาติ ดำรงตนเรียบง่าย อดทน อดออม ขยันขันแข็ง มีคุณธรรมและฮีตคองที่ดีงาม ในด้านวัฒนธรรมการกินก็สะท้อนอัตลักษณ์โดดเด่นดังกล่าวมา

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๑๖ ปีที่๒ เดือนสิงหาคม ๒๕๕๖
เรื่องจากปกฉบับนี้ “มหัศจรรย์ตำบักหุ่ง กำเนิดและการพัฒนาพันธุ์”

เรื่องเด่น
– สัมภาษณ์ ผศ.ดร.รภัสสา จันทาศรี เรื่อง พันธุ์มะละกออีสาน
– วันเสียงปืนแตก ณ นครพนม โดยธันวา ใจเที่ยง
– ปูมบ้าน ปูมเมือง โดย ธีรชัย บุญมาธรรม
– กวีฝนโปรย โดย “เดือนดวงเดิม”
– ระวัง ! หมู่เฮา ๓ใน ๑๐ คนเป็น ‘โรคอีสานรวมมิตร’

เนื้อหาภายในเล่ม
๓ สาส์นจาก “ทางอีศาน”
๗ บทบรรณาธิการ มะละกอ, “บักหุ่ง” : สร้างชีวิต สร้างชาติ
๙ จดหมาย | ฯพณฯ เตช บุนนาค, Wikarn Boongsood, ดร.แก้วตา จันทรานุสรณ์
๑๒ เบิ่งโลก / เบิ่งไทย / เบิ่งอีสาน
๑๘ วันวานกับวันหน้า | “โชติช่วง นาดอน” หมากไม้ พืชพรรณ พัฒนาก้าวไกล
๒๐ แสงเงาคมคำ | “สันติภาพ นาโค” ชีวิตไทไทย
๒๒ เรื่องจากปก | กอง บก. มหัศจรรย์บักหุ่ง
๔๒ สัมภาษณ์ | กอง บก. ผศ.ดร.รภัสสา จันทาศรี เรื่อง “พันธุ์มะละกออีสาน”
๔๕ คำผญา ปรัชญากวี | “ยงค์ ยโสธร” ลูกหน้า
๔๖ กินสบาย ๆ รายทาง | “คำ คิดตรง” บ้านไผ่ อะไรอร่อย
๔๘ เรื่องจากปก (ต่อเนื่องจากปกฉบับที่ ๑๔) | วิวัฒน์ โรจนาวรรณ เมืองอุบลเมื่อ ๘๐ ปีก่อน จากปากคำของผู้แทนราษฎร
๖๓ บทความพิเศษ | ธันวา ใจเที่ยง วันเสียงปืนแตก ณ นครพนม
๗๐ อุษาคเนย์เห่กล่อม | “จินตรัย” หวนคำนึงถึง “ราชาเรื่องสั้น” แห่งอุทยานอักษรเพื่อนบ้าน
๗๖ อัตลักษณ์แห่งชาติพันธุ์อีศาน | วีระ สุดสังข์ การทำนาสมัยใหม่
๘๑ ข่วงบักจุก | “จุก ชายคา”
๘๒ เดินทวนหนทาง | สมคิด สิงสง จากยุคปฏิวัติเขียว… ถึงสมัยเศรษฐกิจสีเขียว (ตอนที่ ๑)
๘๘ คำถิ่นกลิ่นอายแขฺมร์ | “เขาบังภู” พม่า บุกสุรินทร์ !
๙๑ ส่องซอด | ดร.แก้วตา จันทรานุสรณ์
๙๒ ปูมบ้านปูมเมือง | ธีรชัย บุญมาธรรม ชื่อหมู่บ้านที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม
๙๗ ข่าวคนอีศาน | “เวศน์ เวฬุคาม”
๑๐๐ ในเครื่องแบบ | สมพงษ์ ประทุมทอง หมากขี้กาและหมาน้อย
๑๐๒ รายงานพิเศษ | “เป้สีขาว” วันนี้ของ “ครูนักเขียน” โชติ ศรีสุวรรณ
๑๐๔ นิทานก้อม | วีรยุทธ สุธาวรรณ, ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์ ฝันเห็นไก่แปลเป็นเลข ๐๒
๑๐๕ บทกวี | “เดือนดวงเดิม” ฝนโปรย
๑๐๖ รายงานพิเศษ | กอง บก. โรงเรียนกาฬสินธุ์ปัญญานุกูล “ต้าวไต่สู่วิถีอีสานยุคใหม่”
๑๑๐ หมออีศาน | หมอคอมเมด โรคอีสานรวมมิตร
๑๑๔ หอมดอกผักกะแญง | อัตชีวประวัติ พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา การเดินทางครั้งใหม่ ความเมตตาของ “ครูเอื้อ”
๑๒๐ ส่องเมือง | เสรี พงศ์พิศ อีสานเปลี่ยนไป
๑๒๓ แก่นเมือง | ชินวัฒน์ ตั้งสุทธิจิต เมตตาธรรมแห่งองค์หลวงปู่ชอบ ฐานสโม
๑๒๘ เสียงเมือง | “มหา สุรารินทร์” ครูไพบูลย์ บุตรขัน ในนามของ “สาโรช ศรีสำแล” กับ สุรพล สมบัติเจริญ
๑๓๔ หลงฮอยอีสาน | นัทธ์หทัย วนาเฉลิม กินดอง
๑๓๘ เฮาอยู่ยะลา | สฤษดิ์ ผาอาจ บุญบั้งไฟในหุบเขา : หมู่เฮาคนมักม่วน
๑๔๒ นวนิยาย | ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ กาบแก้วบัวบาน (ตอน ๑๖)
๑๕๐ เรื่อย ๆ มาเรียง ๆ | “ปกรณ์ ปกีรณัม” Intestinal fluke
๑๕๒ ห้องศิลป์อีศาน | ธีรภาพ โลหิตกุล มหัศจรรย์ ‘ภูพาน’ บันดาลใจ (๓)
๑๕๔ เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย | “ชัด การชนะ”, ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์ เสียรูปคดี
๑๕๕ ศิลปะนำชีวิต | “ครูเบิ้ม เติมศิลป์” เมื่ออีสานใต้ เขาใช้เส้น ใช้สี
๑๕๘ เฮือนชานศิลปิน | ไพบูลย์ ธรรมเรืองฤทธิ์ เทอดศักดิ์ ไชยกาล
๑๖๐ ปิดเล่ม | กอง บก.

“คำโตงโตย” ไขคำโดย ดร.ปรีชา พิณทอง และ “คำโจทย์ – คำแก้” โดย “นาย ชอบค้น”

พร้อมเนื้อหาอันลึกซึ้งถึงรากเหง้า จากคอลัมน์ต่าง ๆ ในเล่ม และเรื่องสั้น – เรื่องยาว กวี สาระบันเทิงต่าง ๆ ครบครัน และเข้มข้นเช่นเคย

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com