นิตยสารทางอีศาน ฉบับปัจจุบัน

Sticky Post

ทางอีศาน ฉบับที่ 144

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ 144 ฉบับที่ ๑๔๔ ปีที่ ๑๒ ประจำเดือนเมษายน ๒๕๖๗ เรื่องเด่นในฉบับ๐ “เต้าตามไต เต้าทางไท” เต้าไกลถึงปักษ์ใต้ | ศ.พิเศษ ดร.ชลธิรา สัตยาวัฒนา๐ นาฏลีลา โนรารู้รักแม่ | ดร.กณิศ ศรีเปารยะ๐ “ผ้าทอนาหมื่นศรี…วิถีความเป็นแม่ ความเป็นเมีย” | ดร.ชนกมลย์ คงยก๐ “วิถีชน คนเป็นแม่” พินิจแนวคิด “เต้าไท”ฯ | ผศ.ดร.ทวีลักษณ์ พลราชม๐ “แตก ‘ฉาน’ ซ่านเซ็น” ประสบการณ์วิจัยสนามในเมียนมาร์ | ดร.ชุติมา สีดาเสถียร๐ ลี้เศร้า~เต้าแตก~สาแหรกขาด จากจีนสู่ไทยฯ | ผศ.ดร.เธียรชัย อิศรเดช๐ ลมมรสุม | ...
Read More

เรื่องเด่น

{"page-item-id":"box1_2","title-type":"left","title":"\u0e40\u0e23\u0e37\u0e48\u0e2d\u0e07\u0e40\u0e14\u0e48\u0e19","title-background":"","title-link":"","category":"","tag":"%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b8%ad%e0%b8%b5%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%99143","num-fetch":"4","blog-style":"blog-widget-large","with-feature":"enable","with-tag":"disable","blog-size":"3","blog-layout":"carousel","num-excerpt":"0","thumbnail-size":"post-widget-left-featured","feature-thumbnail-size":"medium","orderby":"date","order":"desc","offset":"","pagination":"disable","enable-sticky":"enable","margin-bottom":"0","carousel":true,"carousel-class":" newsstand-blog-ajax "}

ข่าวเด่น / บทความล่าสุด

พบคุณตาไพรัตน์ แย้มโกสุม ที่ อ.พยัคฆภูมิพิสัย จ.มหาสารคาม
พบคุณตาไพรัตน์ แย้มโกสุม ที่ อ.พยัคฆภูมิพิสัย จ.มหาสารคาม

เมษายน 17, 2024

เกร็ดทริปท่องเที่ยวเวียดนาม
เกร็ดทริปท่องเที่ยวเวียดนาม

มีนาคม 11, 2024

คณะท่องเที่ยวเรียนรู้ประวัติศาสตร์เวียดนามได้สร้างสะพานวัฒนธรรมเชื่อมมิตรภาพระหว่างประชาชน
คณะท่องเที่ยวเรียนรู้ประวัติศาสตร์เวียดนามได้สร้างสะพานวัฒนธรรมเชื่อมมิตรภาพระหว่างประชาชน

มีนาคม 11, 2024

ปิดเล่ม “ทางอีศาน” ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๗
ปิดเล่ม “ทางอีศาน” ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๗

มีนาคม 4, 2024

คำสำคัญ ที่อยู่ท้ายประโยค
คำสำคัญ ที่อยู่ท้ายประโยค

มีนาคม 4, 2024

previous arrow
next arrow

คณะท่องเที่ยวเรียนรู้ประวัติศาสตร์เวียดนามได้สร้างสะพานวัฒนธรรมเชื่อมมิตรภาพระหว่างประชาชน

คณะท่องเที่ยวเรียนรู้ประวัติศาสตร์เวียดนามได้สร้างสะพานวัฒนธรรมเชื่อมมิตรภาพระหว่างประชาชนโดยการมอบของขวัญและหนังสือระหว่างผู้เหย้าผู้เยือน

ปิดเล่ม “ทางอีศาน” ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๗

เพื่อ “ลึกซึ้งรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต” นอกจากเนื้อหาสาระจากนิตยสารทางอีศานในมือท่านนี้ เรายังมีกิจกรรมต่าง ๆ เช่น จัดเสวนาอภิปราย จัดค่ายจุดประกายการอ่านเขียน เปิดตัวแนะนำหนังสือ และจัดท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม

คำสำคัญ ที่อยู่ท้ายประโยค

ในประโยคทางการที่เขียนถึงสภาพองค์รวมของประเทศ มักเขียนระบุกันว่า “…การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม” หรืออาจเพิ่มเติมรายละเอียดเข้าไปอีกเช่น “…การเมือง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม การสาธารณสุข ศิลปะและวัฒนธรรม”

จากใจทางอีศาน

ปิดเล่ม “ทางอีศาน” ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๗

เพื่อ “ลึกซึ้งรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต” นอกจากเนื้อหาสาระจากนิตยสารทางอีศานในมือท่านนี้ เรายังมีกิจกรรมต่าง ๆ เช่น จัดเสวนาอภิปราย จัดค่ายจุดประกายการอ่านเขียน เปิดตัวแนะนำหนังสือ และจัดท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม

คำสำคัญ ที่อยู่ท้ายประโยค

ในประโยคทางการที่เขียนถึงสภาพองค์รวมของประเทศ มักเขียนระบุกันว่า “…การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม” หรืออาจเพิ่มเติมรายละเอียดเข้าไปอีกเช่น “…การเมือง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม การสาธารณสุข ศิลปะและวัฒนธรรม”

ปิดเล่ม “ทางอีศาน” ฉบับปีใหม่มกราคม ๒๕๖๗ ~ “สู่ขวัญสุวรรณภูมิ”

ยืนยันอีกครั้งว่า นิตยสารรายเดือน "ทางอีศาน" ของเรายังยึดคติ "ขาดทุน คือ กำไร" แต่เพื่อจะได้ทำหน้าที่ผู้บันทึก ผู้สื่อสาร งานศิลปะ วัฒนธรรม และงานวิชาการทุกด้านต่อไปอย่างมั่นคง

ศิลปวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์

เกร็ดทริปท่องเที่ยวเวียดนาม

0 ขณะนี้ที่สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม โดยเฉพาะเมืองเดียนเบียนฟู (หรือเมืองนาน้อยอ้อยหนู, แถน, แถง) กำลังขะมักเขม้นเตรียมเฉลิมฉลองชัยชนะครบรอบ 70 ปี“ยุทธการเดียนเบียนฟู” ในเดือนพฤษภาคมนี้

คณะท่องเที่ยวเรียนรู้ประวัติศาสตร์เวียดนามได้สร้างสะพานวัฒนธรรมเชื่อมมิตรภาพระหว่างประชาชน

คณะท่องเที่ยวเรียนรู้ประวัติศาสตร์เวียดนามได้สร้างสะพานวัฒนธรรมเชื่อมมิตรภาพระหว่างประชาชนโดยการมอบของขวัญและหนังสือระหว่างผู้เหย้าผู้เยือน

เยือนหนองบัวลำภูไปดูแหล่งเรียนรู้คู่เมือง

หนองบัวลำภู แม้จะเป็นเพียงจังหวัดเล็ก ๆ ของภาคอีสาน แต่ร่ำรวยด้วยแหล่งท่องเ...
Read More

พระธาตุศรีสองรัก สร้อยสัมพันธ์ไทย-ลาว

ไทยกับลาวหากสืบสาวรากเหง้าจะพบว่า เรามีสร้อยสัมพันธ์เกาะเกี่ยวกันหลายประการ...
Read More

มนต์เพลงอีศาน

“เดอะหมา มาแล้ว”

ผลงานเพลงวง “หมาเก้าหาง” ยุคใหม่ สไตล์อีศาน คลาสสิก ทางทีมงาน ขอขอบคุณทุกๆ ท่านที่ให้ความอนุเคราะห์ในการสร้างสรรค์งานวีดีโอชิ้นนี้ เป็นอย่างสูงครับผม

“ทางสั่น” Thang – sun

“ทางสั่น” การบรรเลงดนตรีนั้น มีหลักหนึ่งที่จะทำให้นักดนตรีปรับเปลี่ยนในมุมมองอะไรได้ทุกๆ อย่าง แต่ไม่ทิ้ง “หลักเดิม” ของทำนอง

สิงหา-กันยา : สองศรีพี่น้องเพลงพิณ

เสียงเพลงพิณได้ยินมาแต่ไกล ให้นึกถึงเพลงพิณของ มงคล อุทก “ชีวิตเหมือนพิณกรีดสาย เล่นไปตามลายตามสายเสียงเพลง คนนี้ใจนี้มือนี้ ชีวิตเขามีแต่ดนตรีบรรเลง...”

รำวงโบราณ อีสานย้อนยุค

หนุ่มสาวรำลอดผ่านซุ้มมีกติกาว่าเวลาหนุ่มสาววนมาถึงซุ้มสาวนางรำจะรอจังหวะให้หนุ่มเผลอแล้ววิ่งลอดผ่านซุ้มไปให้เร็ว เพราะถ้าหนุ่มวิ่งทันกันในซุ้มก็จะมีสิทธิ์ กอด หรือแตะต้องตัวสาวได้เฉพาะอยู่ในซุ้ม รำวงลอดถํ้าจึงเป็นที่นิยมสนุกสนาน ไม่เกินเลย ไม่เคยมีเรื่อง ทุกคนถือเป็นการละเล่นไม่ได้ล่วงเกินหากำไร

หนี้กรรม เพลงหักปากกาเซียน

ผ่านไปไม่กี่วันสถานีวิทยุต่าง ๆ เปิดเพลง “หนี้กรรม” ตามคำขอทางโทรศัพท์ ทางจดหมายของแฟน ๆ เพลง เป็นเพลงดังอย่างรวดเร็ว จนคนในวงการวิจารณ์กันว่าเป็นเพลง “หักปากกาเซียน” เพราะคนทั่วไปจะรู้ว่าเพลงที่เป็นสาระ เพลงเกี่ยวกับสถาบัน เกี่ยวกับธรรมะจะไม่ดังแต่เพลง “หนี้กรรม” กลับดังได้

Visions for Mo Lam in Mainland Southeast Asia : การก้าวข้ามพรมแดนทางวัฒนธรรมดนตรี

In the old days music of Isan or Northeast Thailand was rarely known or appreciated by outsiders. It was considered an inferior music; the musicians and singers (molam) were looked down by people or musicians of other cultures. The Isan people themselves, especially educated people---college students and professors, also felt insecure in their arts.

อีสานบ้านเฮา

# พบปะหารือการปลูกมันสำปะหลัง ให้ได้ไร่ละ 40 ตัน #

# พบปะหารือการปลูกมันสำปะหลังให้ได้ไร่ละ 40 ตัน # ณ โรงเรียนบ้านโคกเขาพัฒนา อ.ปะคำ จ.บุรีรัมย์ วันพุธที่ 21 กุมภาพันธ์ 2567 ทบทวน – ความพร้อมที่...
Read More

สะบ้า เป็นได้มากกว่าของเล่น

ในวงสนทนาคํ่าคืนหนึ่ง เพื่อนที่มาด้วยกันจากในเมืองยื่นของสิ่งหนึ่งให้ดูแล้วถามว่า นี่ลูกอะไรเก็บมาจากพื้นดินเมื่อตอนเดินเที่ยวป่าตอนบ่าย ผมมองลูกกลมแบน สีนํ้าตาลอมแดง ขนาดกําได้ในฝ่ามือ แล้วตอบ อ๋อ เขาเรียกลูกสะบ้า ในป่าดิบชื้นนี่พบได้มาก แล้วรู้ไหมเมล็ดสะบ้านี่ เอาไปทําอะไรได้บ้าง

ห.หีบ

ครูโต้นแกมีลูกเขยเป็นครูชื่อ นพพร ครูนพพรเป็นครูรุ่นใหม่ มีแนวคิดที่ปฏิรูปการเรียนการสอนให้มันเข้ายุคสมัย ซึ่งขัดกับพ่อเฒ่าที่เป็นครูเก่า หัวโบราณ บางครั้งครูนพพรก็เคยลองภูมิพ่อเฒ่าเรื่องความรู้ใหม่ ๆ อยู่บ้าง ครูโต้นแกก็สามารถตอบและแก้ปัญหาที่ลูกเขยหัวใหม่มันลองภูมิได้ทุกครั้ง

“ฉันจะไปอนุสาวรีย์” ตอน อนุสาวรีย์จิตร ภูมิศักดิ์

ณ ชายทุ่งบ้านหนองกุง อ. วาริชภูมิ จ. สกลนคร สถานที่การสูญเสียอัจฉริยะทางวรรณศิลป์ ของปัญญาชนชื่อดังสมัยกึ่งพุทธกาล “จิตร ภูมิศักดิ์” ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาศาสตร์ นิรุกติศาสตร์ และวรรณคดี ผู้สร้างสรรค์ผลงานวรรณกรรมมีค่ามากมาย รวมถึงผลงานการวิจารณ์ที่มีคุณค่าต่อวงการวิชาการไทยหลายเรื่อง

รายการสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย – นิตยสารทางอีศาน

นิตยสารทางอีศาน ลึกซึ้งถึงรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต รายการสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย ออกอากาศวันจันทร์ ถึง วันศุกร์ เวลา 14:00 น ถึง เวลา 16:00 น ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงพระพุทธศาสนา ศิลปะวัฒนธรรม ชมรมคนมีบุญ FM 97.00 เมกกะเฮิร์ต และ106.75 เมกะเฮิรตซ์ ออกอากาศพร้อมกัน วัดบ้านอ้น ตำบลดงลาน อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด ดำเนินรายการโดย ท่านทรภูไพร วันโพนทอง นายกสมาคมวิชาชีพสื่อวิทยุโทรทัศน์ภาคประชาชนจังหวัดร้อยเอ็ด

อีสานแซบ

ผักปลูกในสารละลาย…มุมมองจากธรรมชาติ

ผักปลูกในสารละลายหรือ... รู้จักสิ... เขาเรียก “ไฮโดรโปนิกส์” ใช่ไหม อร่อยดีนะ เดี๋ยวนี้ราคาไม่แพง หาซื้อได้ทั่วไปแล้ว ตามตลาดนัดก็ยังมี

‘หมูป่าเอาะเผือก’ สูตรเนื้อตุ๋นแบบอีสานของคุณปู่สู่คำนาง

ส่วนคำว่า “เอาะเผือก” หมายถึง การเอาะที่ชูรสด้วยเผือก แต่ถ้าชูรสด้วยหอม ก็เรียก “เอาะหอม” เน้นและย้ำว่า ให้เรียกชื่อวัตถุดิบหลัก ตามด้วยกรรมวิธีการทำให้สุก และปิดท้ายด้วยวัตถุดิบรอง

หมาน้อย มหัศจรรย์อาหารเป็นยา

“ปู่คะ ทำไมเราต้องกินหมาน้อยทุกครั้งหลังจากกินแกงเห็ดป่าด้วยคะ” คำนางถามปู่ขณะที่กำลังนั่งดูปู่ขยี้ใบหมาน้อยกับน้ำเปล่า “เพราะหมาน้อย เป็นยาวิเศษไงล่ะ” ปู่บอก พลางกรองเอาเศษใบหมาน้อยที่ขยี้จนใสแล้วออกจากน้ำสีเขียวข้นนั่น

ตำนานหนองหาร, ท้าวผาแดง-นางไอ่ อธิษฐานข้ามภพและอภัยเพื่อสันติสุข

หนองหารอยู่ในพื้นที่ของอำเภอเมืองและอำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร พื้นที่ราว 77,000 ไร่ เป็นแหล่งน้ำจืดขนาดใหญ่เป็นอันดับ...
Read More

“ฉันจะไปอนุสาวรีย์” ตอน อนุสาวรีย์จิตร ภูมิศักดิ์

ณ ชายทุ่งบ้านหนองกุง อ. วาริชภูมิ จ. สกลนคร สถานที่การสูญเสียอัจฉริยะทางวรรณศิลป์ ของปัญญาชนชื่อดังสมัยกึ่งพุทธกาล “จิตร ภูมิศักดิ์” ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาศาสตร์ นิรุกติศาสตร์ และวรรณคดี ผู้สร้างสรรค์ผลงานวรรณกรรมมีค่ามากมาย รวมถึงผลงานการวิจารณ์ที่มีคุณค่าต่อวงการวิชาการไทยหลายเรื่อง

จดหมายจากนักอ่าน

คอลัมน์ จดหมาย

หลายปีนานมาแล้ว วันหนึ่งผมขึ้นเวทีอภิปรายบรรยายร่วมกับ “พ่อเล็ก กุดวงศ์แก้ว” ผู้นำอินแปง ผู้ซึ่งจะพูดเป็นภาษากะเลิง หรือภาษาอีสานแนวหนึ่งโดยไม่ผสมไทย เขาบอกว่า “ผมได้ยินคนพูดคำว่าวิสัยทัศน์มาบ่อยมาก ไม่เข้าใจแปลว่าอะไร ผมคนบ้านนอกจบแค่ ป.๔ แต่เมื่อฟังบ่อยเข้าก็เลยคิดเองว่า อ้อ มันคือสิแป๋ว่า ส่องซอด นั่นเอง” แล้วแกก็หัวเราะดังตามสไตล์คนอารมณ์ดี

คอลัมน์จดหมาย ทางอีศาน ๑๑๓ ฉบับ “ห่าตำปอด” – สมณะจันทเสฏโฐ, ชายชื้น คำแดงยอดไตย

เจริญธรรม คุณปรีดา ข้าวบ่อ ลูกชายแม่คำผาง พ่อลูกสาม คนทำหนังสือ อาตมาได้รับหนังสือหลายเล่มแล้วที่ส่งไปพร้อมกับคำคมบ่มชีวิต จะนำไปอ่านออกรายการวิทยุและบอกให้คนติดต่อซื้อจากคุณปรีดา เพื่อสนับสนุนให้คุณมีพลังในการทำหนังสือดีต่อไป.. - สมณะจันทเสฏโฐ

ภารตนิยาย : ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา แปล ตัด ต่อ แต่ง เติม จากคัมภีร์ภาษาสันสกฤต ปรากฤต และทมิฬ

ภารตนิยาย : ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา แปล ตัด ต่อ แต่ง เติม จากคัมภีร์ภาษาสันสกฤต ปรากฤต และทมิฬ โดยเริ่มตั้งแต่เรื่องต่างๆในคัมภีร์พระเวทตั้งแต่ ๔๐๐๐ ปี เรื่อยมาจนถึง มหากาพย์รามายณะ มหากาพย์มหาภารตะ และคัมภีร์ปุราณะต่างๆ ๑๘ คัมภีร์ ซึ่งเล่มสุดท้ายเขียนขึ้นเมื่อ ๑๐๐๐ กว่าปีนี่เอง

นิตยสารทางอีศาน

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com