By

นิตยสาร ทางอีศาน

ทางอีศาน ฉบับที่ 139

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๑๓๙ ปีที่ ๑๒ ประจำเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๖ - ภาพปก : "อู๊ด อัมพวา" เรื่องเด่นในฉบับ - ๐ "มายาคติ ไตลื้อ เชียงรุ้ง สิบสองพันนา" | ชลธิรา สัตยาวัฒนา ๐ ฉาน อัสสัม มาจากสยามจริงหรือ? หรือว่าคนละเรื่องเดียวกัน | พลเอง ดร.จารุภัทร เรืองสุวรรณ ๐ ประวัติศาสตร์ร้อยเอ็ด : การหวนคืนของผู้สืบทอด | ปริญ รสจันทร์ ๐ "ความเชื่อ" กับการจัดการวัฒนธรรมชาวอีศาน | สถิตย์ ภาคมฤค ๐ มหาสารคาม DNA ~ ๑๔ จุดเช็คอินสู่เมืองแห่งการเรียนรู้โลก | สุมาลี สุวรรณกร ๐ "อีสาน" หนึ่งแรงบันดาลใจเรื่องสั้นเรื่องแรกของสุวัฒน์ วรดิลก | สมปอง ดวงไสว

ไปเมืองแถน*

                ไปเมืองแถน*        ย้อนวันพรากรากเหง้าเผ่าพงษ์ใหญ่ ตามซอกหลืบตีนหิมาลัยแผ่ไพศาล ท่ามภูสูงหุบเขาลำเนาธาร จากเถื่อนถ้ำถึงถิ่นฐานที่ราบงาม        บรรพชนบ้านแตกสาแหรกขาด ภัยธรรมชาติโรคห่าน...
Read More

# กราบเยี่ยมอาจารย์เสรี พงศ์พิศ

บ้านหลังน้อยแทรกตัวอยู่ในกลุ่มหมู่บ้านจัดสรรชานเมือง หน้าบ้านมีหย่อมหญ้าและไม้พุ่มไม้ประดับให้สีเขียวพอได้ชื่นใจ ก้าวจากชานระเบียงเข้าไปในบ้าน ก็พบอาจารย์นอนเอนพิงหมอนรับลมอยู่ข้างประตูเลื่อนนั่นเอง &...
Read More

“มหากาพย์ชนชาติไทฯ” หนังสือ 3 เล่มชุด แห่งชีวิตการศึกษา – ค้นคว้า – วิจัย – รื้อสร้าง ของ อาจารย์ชลธิรา สัตยาวัฒนา และอาจารย์ชายชื้น คำแดงยอดไตย

“ข้าวยิ่งเต็มเม็ดเต็มหน่วย ยิ่งงอรวงโน้มต่ำลง” ‘ทางไท…วิถีไท’ เป็นวิถีธรรมชาติ การซึมซับเข้าถึงธรรมชาติอย่างละเอียดอ่อนลึกซึ้งเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ‘บรรพชนชาวไท&#...
Read More
Sticky Post

ทางอีศาน ฉบับที่ 138

นิตยสาร “ทางอีศาน”ฉบับที่ ๑๓๗ ปีที่ ๑๒ ประจำเดือนกันยายน ๒๕๖๖เรื่องเด่นในฉบับรำลึก "๕๐ ปี ๑๔ ตุลา ๑๖" กับความเปลี่ยนแปลงในภาคอีสาน- ๕๐ ปี ๑๔ ตุลาฯ ฐานะและบทบาทของบทเพลงคนกับควาย : ประเมินในวาระครบ กึ่...
Read More

สาส์นถึงเหมาเจ๋อตง

*จีนสร้างเขื่อนกั้นแม่น้ำโขงเขื่อนแรกเมื่อ พ.ศ. 2536 ถึงวันนี้สร้างแล้ว 11 เขื่อน และจีนมีโครงการจะสร้างเพิ่มขึ้นอีก 13 เขื่อน โดยถือเป็นเอกสิทธิ์ในเขตอธิปไตยของตน และไม่เคยฟังเสียงคัดค้านจากพี่น้องปร...
Read More

# ต่อหน้าจิตกาธาน

ร่างของทนง โคตรชมภู กำลังถูกเผาไหม้ภายในโครงครอบหนาทึบ ส่วนบนเป็นโลงบรรจุศพ ส่วนล่างอัดแน่นด้วยถ่านชุ่มน้ำมัน มีช่องเร่งไฟและปล่องควันญาติพี่น้องและเพื่อนพ้องน้องพี่ร่วมพันคนมาชุมนุมร่วมส่งสะการ มาเพื...
Read More
Sticky Post

ทางอีศาน ฉบับที่ 137

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๑๓๗ ปีที่ ๑๒ ประจำเดือนกันยายน ๒๕๖๖ เรื่องเด่นในฉบับ๐ ไทลื้อ เชียงรุ่ง สิบสองพันนา ~ ชลธิรา สัตยาวัฒนา๐ บรูในแอ่งสกลนคร ~ สถิตย์ ภาคมฤค๐ การเมืองยุคใหม่มีหัวใจความเป็นมนุษย์...
Read More
Sticky Post

ทางอีศาน ฉบับที่ 136

เรื่องเด่นในฉบับ - ห้องสมุดรากฐานอารยธรรม "เสรี พพ" - การสังเคราะห์และต่อยอดทฤษฎีฯ : กรณีศึกษาบทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนฯ "ชลธิรา สัตยาวัฒนา" - ตำนานอุรังคธาตุ : ภาพสะท้อนวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำโขง "ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ" - พระอินทร์...ผู้ช่วยมืออาชีพ "นัทธ์หทัย วนาเฉลิม" - ครูช่างสมศักดิ์ มุตะโสภา ผู้อนุรักษ์ "ลายดอกรังฮอ" แห่งอีสานใต้ "นงค์ลักษณ์ บัทเลอร์" - พฤกษ์ โตหมื่นไวย กับการปั้นพระพุทธรูปในต่างแดน "สมปอง ดวงไสว"

# เปล่งถ้อยคำแห่งยุคสมัยออกมา

เหตุการณ์บ้านเมืองของเรา ณ บัดนี้ ขณะที่ทุกคนลุ้นระทึกเรื่องเลือกนายกรัฐมนตรี เรื่องจะจัดตั้งรัฐบาลใหม่แล้ว ยังมีเงื่อนไขปัจจัยอื่น ๆ อีกมากมายเข้าแทรก เกิดปมซ้อนปม เกิดปัญหาซ้อนปัญหา จากเรื่องกฎหมายม...
Read More

“คารวะและนับถือ”

ขอน้อมคารวะความเป็นผู้นำของท่านผู้นำสูงสุด คิม อิล ซุง ขอแสดงความนับถือและเชิดชูวีรภาพของประชาชนเกาหลี พวกท่านได้ต่อสู้และมีชัยมาแล้วกับนักล่าอาณานิคม กับจักรวรรดินิยมและปัจจุบัน พวกท่านกำลังต่อสู้อยู...
Read More

แถลงการณ์จากผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองร้อยเอ็ด ฉบับที่ ๒

จากการที่มีหน่วยงานราชการบางแห่งทำการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เป็นจริงว่านามร้อยเอ็ดมาจากคำว่าสิบเอ็ดประตู ทั้งยังมีการใช้อำนาจทำการผลิตซ้ำข้อสันนิษฐานอันล้าหลังอย่างต่อเนื่อง ซึ่งนอกจากจะสร้างความเสียหายทา...
Read More
Sticky Post

ทางอีศาน ฉบับที่ 134

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๑๓๔ ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๖๖ - เรื่องเด่น โศกนาฏกรรม "นางโอ้เปียมกับสามลอ" ㆍ ชลธิรา สัตยาวัฒนา - เมืองร้อยเอ็ด ของขวัญจากกาลเวลา ㆍ ปริญ รสจันทร์ - เมืองลำพูนยุคสร้างบ้านแปลงเมือง · เพ็ญสภา สุคตะ - เสน่ห์ภาคสนามกับภาษาในการตั้งชื่อถิ่นฐาน · สถิตย์ ภาคมฤค - จากแม่น้ำโขงสู่สุโขทัย พิษณุโลก และนครไทย ㆍ ดุษฎี ปัญญา - พระธาตุศรีสองรัก สร้อยสัมพันธ์ไทย - ลาว ㆍ สัจภูมิ ละออ - ภาพปก : กุศล คงสวัสดิ์

ปิดเล่ม ทางอีศาน 131

การกำเนิดเกิดขึ้นของถนนสายมิตรภาพและทางรถไฟสายอีสาน เมื่อ 60 ปีก่อน นำมาซึ่งความสะดวกสบาย ลักษณะน้ำไหลไฟสว่างทางดี แต่ขณะเดียวกัน เกษตรกรรมเชิงพาณิชย์ก็ขยายตัว พื้นที่ป่าถูกทำลาย สายน้ำถูกบุกรุกจับจอง...
Read More

~ โ อ ม ~

      ~ โ อ ม ~ อะ | องค์พระศิวะผู้สร้างสรรค์อุ  | พระวิษณุผู้มุ่งมั่นการรักษามะ | พระพรหมทำลายทั้งโลกาโอม| รวมสามมหามวลเทพไท้อะ | องค์อรหันต์ผู้น้อมนำอุ  | อุตตมธรรมทรงมอบให้มะ | มหาสงฆ์สามัคคีชัยโอม...
Read More
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com