By

ทองแถม นาถจำนง

คำสุนทรในวันรับรางวัลศรีบูรพา ของ ทองแถม นาถจำนง

# ความดีใจและภูมิใจของผม เมื่อทราบว่าได้รับรางวัลเกียรติยศนี้ แน่นอนว่าปุถุชนก็ย่อมยินดี ผมดีใจที่ได้เป็นรุ่นน้องของ “ศรีบูรพา” ที่โรงเรียนวัดเทพศิรินทร์ ผมดีใจที่เกิดทันและได้รับใช้งานพี่...
Read More

ไตซาย ไตหยา ไตแข่ : ความเชื่อทางศาสนา

พิธีกรรมของชาวไตเอวลายที่สำคัญ ๆ มีดังนี้ ไหว้ “หลง” (ดง) เจิงหลง 祭龙 “หลง” คํานี้เสียงตรงกับ “หลง 龙” ที่แปลว่า มังกรจีน เรื่อง “มังกร” (ภาษาจีนว่า “หลง” “龙”) เป็นปัญหาใหญ่มากสําหรับผู้เริ่มต้นศึกษาวัฒนธรรมโบราณของกลุ่มชนไป่เยวี่ย

ว่าด้วยเงือก (๔) ขวัญไทดํา จากองค์ความรู้ของ ดร.คําจอง

ต้นเค้ากำเนิดบทความเรื่อง “เงือก” ของข้าพเจ้า เริ่มจากวันไปร่วมงานของ “มูลนิธิโกมล คีมทอง” แล้วแวะเข้าศูนย์หนังสือธรรมศาสตร์เห็นหนังสือชุด “ด้วยรัก” รวมบทความในโอกาสศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา อายุ ๗๒ ปีเรื่อง “ชนชาติไท” ราคาห้าร้อยบาทรีบซื้อทันทีเมื่อพลิกดูพบภาพ “เงือก” เป็นครั้งแรกที่ได้เห็น (เคยตีพิมพ์มาแล้วในหนังสือ TAI CULTURE iii - 2 , December 1998 แต่ข้าพเจ้าไม่มีหนังสือเล่มนั้น) ตื่นเต้นมาก

ว่าด้วย เงือก (๓) คติความเชื่อเรื่องเงือกของชาวไทในเวียดนามและลาว จากเอกสารภาษาไทย

แหล่งข้อมูลเรื่อง “เงือก” ส่วนสำคัญที่สุด คือ คติความเชื่อและลายผ้าของชาวไท – ไต ในเวียดนาม ที่มิได้รับอิทธิพลศาสนาพุทธ แม้ว่าข้อมูลที่นักวิชาการชาวไทยค้นคว้าเผยแพร่เป็นภาษาไทยจะยังมีไม่มาก แต่ข้าพเจ้าก็ขอนําเสนอข้อมูลเหล่านั้นเป็นเบื้องต้นก่อน

ปิดเล่ม ทางอีศาน ๑๑๒

โรคระบาดโควิด–19 ในประเทศไทยดูเหมือนสถานการณ์รุนแรงขึ้นอีกระดับ เพื่อนนักเขียนหลายคนก็ติดเชื้อป่วยอำลาจากกันไปก่อน สถานการณ์ตามชุมชนแหล่งสลัมก็เกิดเรื่องน่าสังเวชขึ้นทุกวัน

ปิดเล่ม

สังคมมนุษย์อายุหมื่นกว่าปี เริ่มต้นมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงช้าเหลือเกิน มนุษย์พัฒนาทางสมอง สร้างระบบคิด ความเชื่อ ทีละน้อย ๆ ใช้เวลาเนิ่นนาน กว่าจะมีศาสนาและระบบปรัชญา และทุกวันนี้มนุษย์ก็ยังอยู่ในภายใต้อิทธิพลเครือข่ายของศาสนาไม่กี่ศาสนา

สงกรานต์ ( ສົງການ, សង្រ្កា)

เทศกาลสงกรานต์เป็นเทศกาลใหญ่สุดของสังคมไทย ปัจจุบันเป็นเทศกาลที่มีชื่อเสียงไประดับโลก เรียกกันว่า Water Festival มีวันหยุดยาว สร้างรายได้จากการการท่องเที่ยวเป็นจำนวนมาก

ต้นกำเนิดนิทาน “ตาเจี้ย ตาลูน – ปลาบู่ทอง – เต่าคำ และซินเดอเรลล่า”

นิทานเรื่องปลาบู่ทองเป็นนิทานที่ชาวจ้วง –ลาว–ไท เล่าถ่ายทอดกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ ชาวไทยเรียก “ปลาบู่ทอง” ชาวล้านนาและไทใหญ่เรียก “เต่าน้อย อองคำ” หรือ “นางยีแสงก่อ” (คือนางเอื้อย) หรือ “นางอุทธรา” (คือนางเอื้อย) ทางลาวเรียก “เต่าคำ” ทางจ้วงเรียก “ตาเจี้ย” (นางกำพร้า, ‘ตา’ เป็นคำนำหน้าเรียกหญิงสาว, ‘เจี้ย’ แปลว่า กำพร้า)

ปิดเล่ม ทางอีศาน 105

“โควิด-19” ออกฤทธิ์อีกแล้ว จากแรงงานต่างด้าวจังหวัดสมุทรสาคร กระจายมาในเขตรายรอบ กทม. จำนวนการแพร่ระบาดก็ดูน่าเป็นห่วงพอสมควร และที่น่าห่วงคือไวรัสโควิดที่ยุโรปเริ่มกลายพันธุ์แล้ว ต่อไปนี้ชาวไทยต้องระมัดระวัง ควบคุมดูแลป้องกันตัวเองกันอย่างเต็มที่นะครับ

ว่าด้วยวัฒนธรรม

“วัฒนธรรมเป็นองค์รวมที่สลับซับซ้อนรวมไปถึงวิทยาการ ความเชื่อ ศิลปะ คุณธรรมกฎหมาย ขนบประเพณี ความสามารถ และความเคยชินทั้งปวงที่มนุษย์ได้รับจากสังคม” - E.B. Tylor

มอม, ตัวมอม, สิงห์มอม หมายถึงอะไร ?

ปัจจุบันนี้คงหาคนอธิบายได้ยาก มอม คือสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ มีรูปร่างลักษณะผสมระหว่าง สิงห์ เสือ แมว ค่าง นิยมทำเป็นประติมากรรมเฝ้าพุทธสถาน (ล้านนา, อีสาน, ลาว) และลายสักขา (อีสาน)

“ทางอีศาน” ปีที่ ๙

พฤษภาคม ๒๕๖๓ หนังสือ “ทางอีศาน”พิมพ์ออกเผยแพร่ขึ้นปีที่เก้า พร้อม ๆ กับสภาวการณ์โรคระบาดครั้งใหญ่ทั่วโลก เป็นสถานการณ์ที่แม้จะไม่ใช่ภาวะรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ความเสียหายต่อชีวิตของมนุษย์ไม่ร้ายแรงเท่าภาวการณ์ในอดีต แต่ก็คาดว่า มีผลสะเทือนต่อวัฒนธรรมของมนุษย์อย่างใหญ่หลวง

วัฒนธรรมแถน (๖) พิธีส่งแถน

“ส่ง” คือการทำพิธีสังเวย เพื่อส่งเครื่องบริโภคเครื่องบูชาไปถึงผู้มีอำนาจเหนือธรรมชาติ เมื่อคนหรือบ้านเมืองประสบเคราะห์กรรม ซึ่งไม่อาจจะรักษาหรือแก้ไขได้ตามปกติ เชื่อกันว่าผู้มีอำนาจเหนือธรรมชาติเป็นผู้ทำให้เกิดเคราะห์กรรมนั้น จึงส่งเครื่องสังเวยบูชาไปให้เพื่อขอความเมตตาช่วยให้คนหายจากการเจ็บป่วย พ้นจากความทุกข์ ช่วยให้บ้านเมืองพ้นจากภัยพิบัติต่าง ๆ

วัฒนธรรมแถน (๕) ปู่แถน ย่าแถน

นิทานที่จะเล่าต่อไปนี้ เป็นนิทานที่คนเฒ่าคนแก่เล่ากันมาจนถึงปัจจุบันนี้ มันก็มีว่าคนภาคเหนือหรือคนล้านนาเรานี้เขาว่า การที่คนเรานั้นทำอะไรไม่สำเร็จหรือว่าเกิดป่วยเป็นนั่น ๆ นี่ ๆ ทำอะไรก็ล้มเหลวนั้นเขาว่าเกิดจากการที่ปู่ แถนย่าแถนนั้นแช่งให้เป็น บางครั้งก็มีการส่งแถนหรือว่าทำเครื่องพลีกรรมส่งให้แถนเพื่อให้เคราะห์ภัยต่าง ๆ นั้นหายไป...

มรรควิธีวิทยา Methodology (1)

ปรัชญาเป็นวิทยาศาสตร์แห่งโลกทัศน์ ในขณะเดียวกัน ปรัชญาก็เป็นวิทยาศาสตร์แห่งมรรควิธีวิทยา โลกทัศน์กับมรรควิธีวิทยาพูดให้ถึงที่สุดแล้วคือสิ่งเดียวกัน เมื่อเราใช้โลกทัศน์ไปรับรู้และดัดแปลงโลก ไปค้นคว้าปัญหา ไปแสดงทัศนะ ไปชี้นำการงาน มันก็คือมรรควิธี มรรควิธีมาจากโลกทัศน์
1 2 3 5
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com