Category

บทความ

บทที่ 7 บทเรียนล้ำค่า

ชีวิตกําลังดําเนินไปอย่างสวยงาม ดอกไม้บานเต็มสวนหน้าบ้าน ต้นดอกพุดหลังบ้านชูช่อบานไสวเต็มต้น ส่งกลิ่นหอมมาแต่ไกล ฉันนั่งมองดอกไม้ ต้นไม้ อย่างมีความสุข

ทำไมเรียก “ซุบหน่อไม้” ทั้งที่เมนูฮิตในร้านส้มตำนี้ไม่เหมือน soup แบบ “ซุปฝรั่ง”

ตั้งแต่ผมจำความได้ ร้านส้มตำที่บ้านในอำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ไม่ได้มีส้มตำมากมายให้เลือกกินเหมือนร้านส้มตำปัจจุบันนี้นะครับ มีแต่ส้มตำมะละกอ ที่ก็มีให้เลือกแค่ตำไทย ตำปูเค็ม ส่วนตำปลาร้านั้นมีน้อยร้านที่ทำ แน่นอนว่ากรณีนี้ สถานที่และชุมชนเจ้าของสถานที่มีส่วนอย่างสำคัญ แต่ที่ผมเห็นมีทุกร้านไม่เคยขาดเลย ก็คือ “ซุบหน่อไม้”

สุดฮือฮา พบรอยเท้าไดโนเสาร์กินเนื้อแห่งใหม่ของประเทศไทย ในพื้นที่วนอุทยานภูแฝก ตำบลภูแลนช้าง อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์

เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2566 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เจ้าหน้าที่พิพิธภัณฑ์สิรินธร สำนักงานทรัพยากรธรณี เขต 2 พร้อมด้วยนายดำรงศักดิ์ ชูศรีทอง หัวหน้าวนอุทยานภูแฝกเข้าตรวจสอบบริเวณบ๋าชาด ในพื้นที่วนอุทยานภูแฝก ตำบลภูแล่นช้าง อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ หลังจากมีการแจ้งว่าพบร่องรอยที่คาดว่าเป็นรอยเท้าไดโนเสาร์ จากนายทองดี สุปิรัยทร ชาวบ้านน้ำคำ หมู่ 6 ตำบลภูแล่นช้าง อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์

บทที่ 5 พบคําตอบ

ฉันออกเดินทางไปกับคุณยายตั้งแต่เช้ากว่าจะถึงวัดก็บ่าย ทันทีที่ถึงวัด ความรู้สึกเมื่อวัยเด็กผุดขึ้นในห้วงความคิด รู้สึกคุ้นเคยกับสถานที่แห่งนี้ มองดูบริเวณรอบ ๆ วัด ต้นไม้ใหญ่ร่มรื่น ได้ยินเสียงใบไม้ไหวราวกล่าวคําต้อนรับอาคันตุกะผู้มาเยือน ฉันรับรู้ถึงกระแสแห่งความชุ่มฉ่ำเย็นที่เกิดขึ้นในใจ

บทที่ ๓ ไม่ยอมแพ้

ฉันกลับมาทบทวนตัวเองอีกครั้ง ยังมีหนทางอื่นอีกไหมที่จะทําฝันให้เป็นจริง นึกถึงอาชีพนักการทูตที่ต้องเดินทางไปทํางานต่างประเทศ น่าจะเป็นอีกหนทางหนึ่งที่จะทําฝันให้เป็นจริง

Journey of Life ชีวิตใหม่

มนุษย์ออกเดินทางตั้งแต่เกิด เมื่อลืมตาดูโลกคือ ประสบการณ์แรกที่ได้พบโลกใบใหม่ เมื่อเติบใหญ่ชีวิตหมุนเวียนเปลี่ยนไปตามวัย ตามเหตุการณ์ที่ผันแปรไป

#บทเรียนชีวิต (บทที่ ๒) ฉบับที่ ๑๔ ท่าแร่

พ่อคิดว่า งานวัฒนธรรมควรให้ผลทางจิตใจแก่ชุมชน แก่คนที่ไปเยือนมากกว่าเพื่อแสดงความอลังการของงานที่อ้างงว่าเป็นศิลปวัฒนธรรม ก็ดูแต่การจัดการแห่ดาวก็ให้คนเดินตามรถที่ประดับประดาด้วยดาวและดอกไม้ ปีหนึ่งเห็นมีหญิงสาวแต่งตัวสวยงามนั่งมาคนเดียว คล้ายกับขบวนแห่ในงานบุพชาติ งานสงกรานต์

#บทเรียนชีวิต (บทที่ ๒) ฉบับที่ ๑๓ ท่าแร่

ภาษา คำพูด มีอำนาจ กำหนดภาพลักษณ์ คุณค่า ความหมาย เมื่อได้ยินคำว่า “ท่าแร่” คนมักคิดถึงเนื้อสุนัข เหมือนคนเยอรมันสมัยก่อนที่พูดคำว่า “สาวไทย” (Thai Maedchen) ก็คิดถึงหญิงบริการ เพราะภาพลักษณ์เป็นเช่นนั้น หรือวันนี้คำว่า “หมอนวด” คนยังคิดถึงหญิงบริการในที่ “อาบ อบ นวด” แม้ว่ามีคนนวดแผนโบราณที่ไม่ได้เป็นแบบนั้นทั่วไปในสังคม

#บันทึกชีวิต (บทที่ ๒) ฉบับที่ ๑๒ ท่าแร่

ฉบับที่แล้วเล่าไปไกลเพราะล้วนเกี่ยวพันกันไปหมด คณะมิซซังต่างประเทศกรุงปารีสประจำอยู่ที่กรุงศรีอยุธยาและภาคกลาง เมื่อปี 1881 ได้เดินทางไปอีสาน ขี่ม้าไปถึงโคราช แล้วนั่งเรือล่องแม่น้ำมูลไปถึงอุบลฯ ปี 1883 ล่องแม่น้ำโขงขึ้นไปถึงนครพนม แล้วต่อมาไปที่สกลนคร เพราะได้ข่าวว่ามีคนเวียดนามที่เป็นคริสต์จำนวนหนึ่งขอให้ไปตั้งวัดที่นั่น

#บทเรียนชีวิต (บทที่ ๒) ฉบับที่ ๑๑ ญาติพี่น้อง

จดหมายฉบับที่แล้ว พ่อพูดถึงรากเหง้ากับคีรีวง ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกันมาก อยากเล่าให้ฟังเพื่อจะได้เป็นพื้นฐานในการเข้าใจว่า ทำไมพ่อจึงอยากเขียนถึงท่าแร่ บ้านเกิดของพ่อ

#บทเรียนชีวิต (บทที่ ๒) ฉบับที่ ๑๐ ญาติพี่น้อง

พูดถึงญาติทางปู่จำนงค์ไปแล้ว ทางด้านของย่าคำปุนนั้น ญาติพี่น้องของทวดหนูนาที่สกลนครมีมากก็จริง แต่เราก็ไม่ได้สนิทกับใคร เพราะไม่ได้มีความสัมพันธ์หรือติดต่อกันมาตั้งแต่ต้น เคยมี พล.ต.ต.ชาติชาย อุปพงษ์เท่านั้น เพราะนามสกุลอุปพงษ์กับศรีวรกุลเป็นลูกหลานเจ้าเมืองสกลนครเหมือนกัน

#บทเรียนชีวิต (บทที่ ๒) ฉบับที่ ๙ ญาติพี่น้อง

ปู่มาเมืองไทยอายุ 8 ขวบ ได้นามสกุล “พงค์พิศ” เมื่อไร อย่างไร พ่อก็ลืมถามปู่ รู้แต่ว่าท่านเป็นต้นตระกูล น้องของปู่ทุกคนพร้อมลูกหลานจึงใช้นามสกุลเดียวกันนี้ เขียนต่างกันบ้าง ไม่เป็นไร ขอให้ใช้ตามที่เขียนในบัตรประชาชนของตนก็แล้วกัน ดั้งเดิมจริงๆ พงค์ ใช้ ค์ ไม่ใช่ ศ์ หรือ ษ์ ไม่ทราบแปลว่าอะไร

#บันทึกชีวิต (๘) “แม่”

พ่อขอเงินย่าหนึ่งสลึงไปซื้อดินสอ ย่าไม่ให้ แต่เมื่อขอไปให้คนขอทาน โดยเฉพาะวนิพกพเนจร ที่มาเป่าแคน เล่นพิณ เล่นกะจับปี่หน้าบ้าน ย่าจะให้เสมอ แต่พ่อไม่ให้เขาทันที จะเดินตามเขาไป ฟังเขาเล่นหน้าบ้านโน้นบ้านนี้จนสุดหมู่บ้าน จึงให้ตังค์เขา แล้วเดินกลับบ้าน เบิกบานอิ่มใจในเสียงดนตรี

#บันทึกชีวิต (๗) “แม่”

ปู่ย่ามีลูก 14 คน เสียชีวิตตอนคลอดและตอนยังเด็ก 3 คน ย่าเลี้ยงลูกจนโต 11 คน บอกว่ารักลูกทุกคนเท่ากัน และย่าก็พยายามแสดงออกเช่นนั้น แม้เป็นธรรมดามนุษย์ ที่ในใจท่านคงรักหรือเป็นห่วงบางคนบางกว่าคนอื่น

บทเรียนชีวิต (๖)

คนสมัยก่อนมีลูกมากเพื่อจะได้มีแรงงานในการทำมาหากิน โดยเฉพาะการทำเกษตร เป็นสังคมยังชีพ ที่สิ่งสำคัญที่สุดไม่ใช่เงิน แต่เป็นข้าว ใครมีข้าวก็มีความมั่นคง ต่อมาเป็นยุคอุตสาหกรรม เงินสำคัญที่สุด อยากได้ข้าวปลาอาหาร ข้าวของเครื่องใช้ก็ไปซื้อจากตลาด ไม่ต้องออกแรงทำเองก็ได้ ทำให้ผู้คนหาเงินกันเอาเป็นเอาตาย หลายคนก็ตายตามความตั้งใจ
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com