ลูกอีศานรังสรรค์ลูกอีสาน
คนเขียนถ้าไม่ใช่ลูกอีสานจะถ่ายทอดสภาพร้อน ๆ แล้ง ๆ ถึงขนาดหมู่บ้านร้างเช่นนี้ได้อย่างไร ทำให้ได้คิด เมื่อเห็นหนังสือลูกอีสาน ฉบับครบรอบ 40 ปี หน้าปกเป็นรูปหนุ่มคูน ถือฉมวกห้อยข้องหาปลา คนออกแบบปกเป็นลูกอีสานบ้างหรือไม่ ทำไมจึงได้รสชาติเช่นนี้
สุสานดอกไม้
สุสานดอกไม้
ฉันคือแจกันเก่าแก่อายุมาก
ฉันทำให้ดอกไม้พรากจากต้น
ฉันมีอายุมากเท่าไร
ดอกไม้ก็โดนตัดมากเท่านั้น...
อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : บุกดอยนันทกังฮี – ๓ (๗)
รอยพระพุทธบาทที่นี่แม้เป็นรอยที่เกิดโดยธรรมชาติ แต่แตกต่างจากที่เคยเห็นมาเป็นอันมาก คือ เป็นรอยเท้าขนาดใหญ่ แต่ปลายนิ้วทั้ง ๕ ดูคล้ายกับลื่นไถลนิดหน่อยก่อนจะฝากรอยจมลึกลงในโคลน ทาด้วยสีทอง
ต้นกำเนิดนิทาน “ตาเจี้ย ตาลูน – ปลาบู่ทอง – เต่าคำ และซินเดอเรลล่า”
นิทานเรื่องปลาบู่ทองเป็นนิทานที่ชาวจ้วง –ลาว–ไท เล่าถ่ายทอดกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ ชาวไทยเรียก “ปลาบู่ทอง” ชาวล้านนาและไทใหญ่เรียก “เต่าน้อย อองคำ” หรือ “นางยีแสงก่อ” (คือนางเอื้อย) หรือ “นางอุทธรา” (คือนางเอื้อย) ทางลาวเรียก “เต่าคำ” ทางจ้วงเรียก “ตาเจี้ย” (นางกำพร้า, ‘ตา’ เป็นคำนำหน้าเรียกหญิงสาว, ‘เจี้ย’ แปลว่า กำพร้า)