นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 82

เมืองนครจำปาศักดิ์ – ๓ –

เมื่อพ.ศ.๒๓๕๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้ง เจ้าหมาน้อย บุตรเจ้าราชวงศ์ (สุริโย) หลานเจ้าสร้อยศรีสมุทฯ เป็นเจ้านครจำปาศักดิ์ ให้ เจ้าธรรมกิติกา บุตรอุปฮาด (ธรรมเทโว) เป็นเจ้าอุปฮาดรักษาเมืองนครจำปาศักดิ์ต่อไป ครั้นอยู่มาเจ้าหมาน้อยกับเจ้าอุปฮาด (ธรรมกิติกา) วิวาทกัน คุมกันลงมาเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท โปรดเกล้าฯให้แยกเจ้าอุปฮาด (ธรรมกิติกา) ไว้เสียที่กรุงเทพฯ ให้เจ้านครจำปาศักดิ์ (หมาน้อย) กลับไปครองเมืองตามเดิม

ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน ตอนที่ 4

อีกวันหนึ่งในปีนี้, มีชายวัยประมาณสี่สิบปีเศษ หน้าตาคมสัน ร่างสันทัด ผิวสีดำแดงแกร่งก้าน ท่าทางมั่นอกมั่นใจในตนเองเป็นอันมาก เว้นแต่

ตามรอย “คำพิพากษา” ที่ชุมชนบ้านบ่อ

แรงบันดาลใจสำหรับผู้เขียนเป็นนิยายที่ชื่อเรื่อง คำพิพากษา ของนักเขียนซึ่งได้ซีไรต์ชายสองสมัยซ้อน ชาติ กอบจิตติ คนสมุทรสาครเช่นเดียวกับผู้เขียน

เพลงแผ่นดิน

จากโกร่ง เกราะ เคาะไม้นัดหมายเสียง สื่อสำเนียงเสียงแผ่นดินจากถิ่นเถื่อน คือดนตรีชีวิตอยู่ชิดเรือน ผ่านปีเดือนเลื่อนระดับเป็นกรับกลึง

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๘๒
ปีที่ ๗ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๒
นิตยสารรายเดือนของชาวอีสานและคนไททุกภูมิภาค
ลึกซึ้งรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต

เรื่องเด่น :
– พญาปริสุทธเศวตหัสดีลิงค์ น้อมส่งพระเทพวิทยาคม (หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ) โดย ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ
– ศิลปะลพบุรี มรดกวัฒนธรรมจากบ้านจิมฯ
– การเล่าดยั๊วของชนชาวลัวะ กับ ปกิณกะแม่นมสยาม โดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา
– รุ่งอรุณแห่งความรักของสาวอีศาน โดย สมปอง ดวงไสว
– เริ่มคอลัมน์ใหม่ “เรื่องเล่าปราชญ์ชาวบ้าน” โดย รศ.ดร.สุขพัฒน์ อนนท์จารย์

เนื้อหาในเล่ม :
๑ เขียนมนุษย์ | ช่วง มูลพินิจ จิตรกรรมชิ้นเดียว
๓ บทบรรณาธิการ | ปรีดา ข้าวบ่อ นิทานหมู่บ้าน
๖ สาส์นจากทางอีศาน
(๑) ความเปลี่ยนแปลง
(๒) โครงการ วชร ๑๗๙ จิตพุทธอาสาตามศาสตร์พระราชา
๘ ห้องศิลป์อีศาน | ธีรภาพ โลหิตกุล ท่องทิพยวิมานอีสานใต้ประทับไว้ในดวงจิต (๒)
๑๑ เฮือนชานศิลปิน | กอง บ.ก. อิสระ หลาวทอง
๑๔ ไผว่าอีศานฮ้าง | “สมปอง ดวงไสว” รุ่งอรุณแห่งความรักของสาวอีศาน
๑๘ อะคาเดมีชีวิต | รศ.ดร.เสรี พงศ์พิศ ปลาแดก แซบและดี
๒๑ นักสู้ลูกข้าวเหนียว | นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ศิริศักดิ์ ยอดญาติไทย สำรองแต่คนไทยสำราญ
๒๒ ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท | ชลธิรา สัตยาวัฒนา (๑๔) การเล่าดยั๊วของชนชาวลัวะ กับ ปกิณกะแม่นมสยาม
๒๘ รายงานทางอีศาน | คเณศณัฏฐ์ สิมลาโคตร รางวัลอุรังคธาตุทองคำ ครั้งที่ ๑ : ภาษาและวรรณกรรม กับการก้าวข้ามพรมแดนรัฐชาตินิยม
๓๑ บทกวี | สันดุสิทธิ์ ประเสริฐสังข์ ดอกหญ้าผู้อาภัพ
๓๒ ภูมิบ้านนามเมือง | “เขาบังภู” ชำนิ ภาชี พาชี
๓๖ บทกวี | โชคชัย บัณฑิต’ เพลงแผ่นดิน
๓๗ อุรังคธาตุ-นิทานพเนจร | นัทธ์หทัย วนาเฉลิม (๘) ที่จุดเริ่มต้นคือที่สุดท้าย – ๑
๔๓ บทกวี | “ณ ดาว ลูกจันทร์” ทุกน้ำตาคือปรัชญาชีวิต
๔๔ ศัพท์เพเหระ | ประสิทธิ์ ไชยชมพู การเดินทางของ “ผม”
๔๖ ฮุงเฮืองเมืองปราชญ์ | ธันยพงศ์ สารรัตน์ ตามรอย “พ่อหลวงรัชกาลที่ ๙” และ “แม่ของคนไทย”
๕๔ เรื่องเล่าปราชญ์ชาวบ้าน | รศ.ดร.สุขพัฒน์ อนนท์จารย์ ทำไมต้องตั้งศาลให้ผีตาแฮกสถิตอยู่
๕๘ เพชรในโพสต์ | กอง บ.ก. แห่งโบราณคดีบ้านก้านเหลือง อุบลราชธานี
๖๐ รายงานทางอีศาน | “แคน ลำโขง” ไขป่องเอี้ยมเยี่ยมเบิ่งลาว ตามฮอยศรัทธาญาคูขี้หอม (๕ – จบ)
๖๖ ลานข่วงกวี | “บุญผลา แสงดาวดั้ง” ถนนคนเดินขอนแก่น, มือถือสาก ปากคาบเสียม, นาแซงบ้านเฮา, แสงส่องทาง
๖๘ นักเขียนอีสาน | “เจน อักษราพิจารณ์” สโมสรนักเขียนภาคอีสาน : ตำนานคนวรรณกรรมจากที่ราบสูง (๕)
๗๔ เวทีพี่น้อง | รติรัตน์ รถทอง ตามรอย “คำพิพากษา” ที่ชุมชนบ้านบ่อ
๗๘ เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย | “ชัด การชนะ” คำสุดท้าย
๗๙ เสียงเมือง | “ทิดโส สุดสะแนน” เรื่องลี้ลับแปลกๆ
๘๓ สาส์นลึบให้สูญ | “บุญมา ภูเม็ง” เด่มือ มือเด่
๘๔ ลูกเถ้าแก่บ้านนอก | สุรินทร์ ภาคศิริ (๔๐) จากร้านแผ่นเสียงถึงค่ายเพลง คงเหลือแต่ตำนาน
๘๗ สุภาษิตขแมร์ ฉบับ พ.ศ.๒๔๖๗ | กอง บ.ก. สุภาษิตโบราณ (๕)
๘๘ เปิดผ้าม่านกั้ง | ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ พญาปริสุทธเศวตหัสดีลิงค์ น้อมส่งพระเทพวิทยาคม (หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ)
๙๒ นวนิยาย | อุดร ทองน้อย ดอกขะเจียวจากโคกขี้แลน – สี่ –
๙๗ บทกวี | กิตติ อัมพรมหา เห็นไหม ฟ้าไกลลิบนั่นขลิบทอง
๙๘ ผญาสมัย | ชาตรี เสงี่ยมวงศ์ อริยสัจ ๔
๙๙ การปกครองหัวเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | เติม สิงหัษฐิต เมืองนครจำปาศักดิ์ (๓)
๑๐๗ มหากาพย์ชนชาติไท | ชลธิรา สัตยาวัฒนา และชายชื้น คำแดงยอดไตย วิธีวิทยาเจาะเวลาหา ‘ยุคเพรางาย’ ~ อรุณรุ่งของชนชาติไท (๓)
๑๑๓ อาหารพื้นบ้าน | “ดวงจันทร์ ศรีหยก” ลาบปลาตอง ่
๑๑๖ ส่องซอด | เสรี พงศ์พิศ คำและความหมาย เข้าใจโลก เข้าใจชีวิต
๑๑๗ จดหมาย | แป้น, บรรณกร กลั่นขจร
๑๒๐ เฮฮาสาระ | สหภพ ปานทอง นั่งคุยกับครู
๑๒๒ มรดกวัฒนธรรมจากบ้านจิมฯ | “ศิรเทพ๑๑๐๗๘” ศิลปะลพบุรี
๑๒๘ ปิดเล่ม | กอง บ.ก.

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com