Tag

ศิลปวัฒนธรรม – ประวัติศาสตร์

พิธีบรมราชาภิเษกในตำนานอุรังคธาตุ

การสถาปนาพระผู้ผ่านพิภพขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ปกครองแว่นแคว้น มีธรรมเนียมสำคัญที่ถือปฏิบัติกันมาแต่ครั้งโบราณ นั่นคือ การรดน้ำเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ

ทำไมปลาจึงเป็นอาหารมนุษย์

มังสังที่พระอินทร์ส่งมานั้น จะนอนขวางสายน้ำไว้ ปลาที่อาศัยเหนือน้ำจะลงมาข้างล่างหรือไหลมาตามสายน้ำก็ไม่ได้ เมื่อมนุษย์ต้องการอาหารเมื่อใดก็จะมีมีดหรือเครื่องมืออื่น ๆ มาชำแหละหรือเฉือนเอาชิ้นเนื้อของมังสังไปเป็นอาหาร เฉพาะเป็นวัน ๆ เท่านั้น

“ความล่องคง” ประวัติศาสตร์ขับขานของชนชาติไท (๔)

การสืบสร้าง “มหากาพย์ชนชาติไท” ในงานเขียนชุดนี้ จะใช้ผลงานวรรณกรรมรูปแบบต่าง ๆ ที่รังสรรค์โดยชนชาวไทเป็นตัวตั้ง

“ส่องซอด” โดย ต้อง บุตรศรีชา – ผู้ใหญ่บ้านแห่งหมู่บ้านอีสาน จิมฯฟาร์ม ปักธงชัย

คำว่า “น้องวัว” คือ รกวัว นั่นเอง แต่คนลาวอีสานชอบเรียกว่า น้องวัว เพราะเมื่อแม่วัวออกลูกวัวมาแล้ว”รกวัว”จะออกมาตามหลัง จึงเป็นที่มาของคำว่า “น้องวัว”

หมาเก้าหาง..ดนตรีอีศานคลาสสิก

 มีใครเคยได้ยินเรื่องราวความเป็นมาของ “หมาเก้าหาง” บ้างไหมครับ ?  คำว่า “หมาเก้าหาง”อาจจะไม่ใช่คำที่คนทั่ว ๆ ไปคุ้นเคยมากนัก  แต่หมาเก้าหางนั้นมีความสำคัญในเชิงวัฒนธรรม  ความเชื่อ  ความศรัทธา  ที่สืบทอดต่อกันมาแต่โบราณ  เรื่องราวของหมาเก้าหางจะมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของผู้คนอย่างไร  เราไปค้นหาคำตอบพร้อมๆกันครับ

คำโตงโตย

“ฮ้อนกว่าไฟ ได้แก่ใจ ปกติของใจ นึกจะทำอะไรก็อยากจะทำเร็ว ๆ อยากจะให้เสร็จเร็ว ๆ ที่ว่าไฟฮ้อนก็ไม่ฮ้อนเท่าใจเพราะไฟธรรมที่ว่าร้อน ก็เผาได้แต่เฉพาะกาย

เมืองนครจำปาศักดิ์

เมื่อพ.ศ.๒๓๕๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้ง เจ้าหมาน้อย บุตรเจ้าราชวงศ์ (สุริโย) หลานเจ้าสร้อยศรีสมุทฯ เป็นเจ้านครจำปาศักดิ์ ให้ เจ้าธรรมกิติกา บุตรอุปฮาด (ธรรมเทโว) เป็นเจ้าอุปฮาดรักษาเมืองนครจำปาศักดิ์...
Read More

อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : ที่จุดเริ่มต้นคือที่สุดท้าย – ๑ (๘)

“ฮู้จักพระวอพระตาไหม เจ้ากินเกลือบ้านได๋ เคยไปเอาบุญพระธาตุบ่” เป็นคำถามที่ ผศ.อมฤต หมวดทอง อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง และนฤมิตศิลป์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ใช้เสมอในยามที่ออกไปเก็บข้อมูลภาคสนามในเรื่องเกี่ยวกับแหล่งเกลือในภาคอีสาน และมักได้ฟังเรื่องเล่าเก่าก่อนเป็นผลพลอยได้

ตามรอย “พ่อหลวงรัชกาลที่ ๙” และ “แม่ของคนไทย” บนผืนป่าต้นน้ำและสายธารน้ำตกใน “โรงเรียนห้วยสวายวิทยา”

“ค่ายศิลป์รักษ์ป่า” (ห้วยสวาย) จัดขึ้นโดยสาขาสาธารณชุมชน วิทยาศาสตร์การอาหาร ชมรมศิลป์สัมพันธ์ ศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรม

อุรังคธาตุ-นิทานพเนจร : ที่จุดเริ่มต้นคือที่สุดท้าย – ๑ (๘)

หากไม่ใช่เพราะคำว่า “ศรัทธา” แล้วจะเป็นสิ่งใดไปได้ที่ทำให้คนคนหนึ่งมีจิตใจตั้งมั่นถึงขนาดเดินเท้าจาริกไปมนัสการพระธาตุพนม...

การเล่าดยั๊วของชนชาวลัวะ กับ ปกิณกะแม่นมสยาม

ในบทนี้ จะได้นำเอาเรื่องเล่า นิทาน ตำนาน และข้อห้าม ต่างเวลาต่างสถานที่กัน มาผูกเรียงร้อยเข้าด้วยกัน เพื่อชี้ให้เห็นตัวอย่างของกระบวนการเปลี่ยนผ่านสังคมที่เจ็บปวดรวดร้าว
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com