วัดทุ่งสนุ่นรัตนาราม กับโครงการพัฒนาดนตรี-รำฟ้อน ให้แก่เยาวชน โดย “หมาเก้าหาง” – “มูลนิธิทางอีศาน” [ ๒ ]
ท่านได้พัฒนาวัดและพัฒนาคนไปพร้อม ๆ กัน ถึงพื้นที่แห่งนี้มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ และทัศนคติที่อาจจะเห็นต่างกันบ้าง แต่ท่านก็ได้ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนากับศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านมาเป็นตัวสื่อกลางเชื่อมความหลากหลายทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์
วัดทุ่งสนุ่นรัตนาราม อ.บึงสามัคคี จ.กำแพงเพชร กับโครงการพัฒนาดนตรี-รำฟ้อน ให้แก่เยาวชน โดย “หมาเก้าหาง” – “มูลนิธิทางอีศาน” [ ๑ ]
ชาวบ้านซึ่งมีเชื้อสายลาวครั่ง และลาวเวียง ได้อพยพโยกย้ายถิ่นฐานจากจังหวัดนครปฐม และ จังหวัดราชบุรี มาจับจองที่ดินเพื่อทำมาหากินที่บริเวณอำเภอขาณุวรลักษบุรี ซึ่งในขณะนั้นบริเวณนี้ยังเป็นป่าดงดิบเต็มไปด้วยสัตว์ป่า อุดมสมบูรณ์ด้วยแหล่งน้ำ และมีต้นสนุ่น (ใคร้นุ่น) เกิดอยู่เต็มท้องทุ่งนา
ขี้เหล็ก : ฮ่วมพาแลงกินแกงต่างหม้อ
ผิดที่ต่าง หรือ ต่างจึงผิด
แบบไหนเรียกว่าถูก แบบไหนเรียกว่าผิด
พ่อนางพาทำแบบนี้ หรือ แม่อ้ายพาทำแบบนั้น
ถูกเพราะเป็นวัฒนธรรมบ้านฉัน หรือ ผิดจากประวัติศาสตร์ลิ้นเธอ
ทางอีศาน 22 : ปิดเล่ม
เจ้าพี่น้องหากแม่นลูกกูผู้เดียวดาย... กูปันให้สูเจ้าแล้วดังนี้ ภายหน้าผู้ใดอย่าโลภตัณหา อิจฉามักมาก แลเอารี้พลช้างม้าไปตกแดน เอาหอกดาบเขนแพนไปตกท่ง แล้วรบเลวเอาบ้านเมืองกัน ดังนั้นให้ผู้นั้นฉิบหาย ทำอันใดอย่าให้เป็น เข็นอันใดอย่าให้ได้ ปลูกไม้อย่าทันตาย ปลูกหวายอย่าทันล่อน ข้อม่อนอย่าให้ฮี ปลีมันอย่าให้กว้าง เทียวทางให้ฟ้าผ่า เมือป่าให้เสือกิน...
พ่อครูทรงศักดิ์ ประทุมสินธุ์ ศิลปินเกียรติยศ โหวดเสียงทองเทวดา
พ่อครูเล่าที่มาของโหวดว่าแต่เดิมเป็นของเล่นของเด็กเลี้ยงควาย ยังไม่ถูกเรียกเป็นเครื่องดนตรี ใช้เล่นในช่วงปลายฤดูฝนก่อนเกี่ยวข้าว เป่าเล่นเพื่อความสนุกขณะที่เลี้ยงควายตามทุ่งนา และใช้แกว่งหรือเหวี่ยงเพื่อฟังเสียง ด้วยการต่อหางโหวดให้ยาวแล้วใช้เชือกคล้องหัวกับหางโหวด แกว่งให้หวดรอบศีรษะด้วยความเร็วสูงจะเกิดเสียงดังว่า “แงว ๆ” ฟังแล้วเกิดเสียงไพเราะ เรียกการแกว่งโหวดชนิดนี้ว่า “การแงวโหวด” ลักษณะของโหวดสมัยโบราณยังไม่มีความสวยงาม
ทรงศักดิ์ ประทุมสินธุ์ – ฐานข้อมูลศิลปินมรดกอีสาน
ขอแสดงความยินดีกับ อ.ทรงศักดิ์ ประทุมสินธุ์ จากศิลปินมรดกอีสานสู่ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดงประจำปี พ.ศ.2562 เอาเทปที่เคยสัมภาษณ์ไว้มาให้ฟังอีกครั้งค่ะ