นิตยสารทางอีศาน ฉบับปัจจุบัน

เรื่องเด่น

{"page-item-id":"box1_2","title-type":"left","title":"\u0e40\u0e23\u0e37\u0e48\u0e2d\u0e07\u0e40\u0e14\u0e48\u0e19","title-background":"","title-link":"","category":"","tag":"%e0%b8%97%e0%b8%b2%e0%b8%87%e0%b8%ad%e0%b8%b5%e0%b8%a8%e0%b8%b2%e0%b8%99130","num-fetch":"4","blog-style":"blog-widget-large","with-feature":"enable","with-tag":"disable","blog-size":"3","blog-layout":"carousel","num-excerpt":"0","thumbnail-size":"post-widget-left-featured","feature-thumbnail-size":"medium","orderby":"date","order":"desc","offset":"","pagination":"disable","enable-sticky":"disable","margin-bottom":"0","carousel":true,"carousel-class":" newsstand-blog-ajax "}

ข่าวเด่น / บทความล่าสุด

บำรุง บุญปัญญา : อหังการแห่งสามัญชนลูกอีสาน
บำรุง บุญปัญญา : อหังการแห่งสามัญชนลูกอีสาน

มีนาคม 20, 2023

เ สี่ ย ว
เ สี่ ย ว

มีนาคม 20, 2023

ว า ง
ว า ง

มีนาคม 20, 2023

สามชีวิต “ภูมิศักดิ์”
สามชีวิต “ภูมิศักดิ์”

มีนาคม 17, 2023

รำลึก ภิรมย์ ภูมิศักดิ์ (พ.ศ.2471 – พ.ศ.2555)
รำลึก ภิรมย์ ภูมิศักดิ์ (พ.ศ.2471 – พ.ศ.2555)

มีนาคม 17, 2023

previous arrow
next arrow

งานเขียนชุด “มหากาพย์ชนชาติไท” บรรพสอง ‘หนูไฟ เป่าหน’ นักเดินทางผู้ยิ่งยง คงนามไท (ตอนที่ ๒)

วัฒนธรรมบั้งไฟ” จัดอยู่ในสังกัดร่วม ‘สายวัฒนธรรมแถน’ ของชาวไท|ลาว กลุ่มต่าง ๆ ที่สืบสายเชื้อเครือมาจาก ‘ชาวไป่เยวี่ย’ ในส่วนสายชาติพันธุ์ไท มายาวนานแต่โบราณสมัย จากการวิจัยสนามของนักวิชาการหลายท่าน รวมทั้งของผู้เขียนเอง ข้อมูลสนามบ่งชี้ว่า ประเพณีบุญบั้งไฟของชาวไทยถิ่นอีสานอยู่ร่วมบริบทประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรมมากับชาวลาวแห่งอาณาจักรล้านช้าง

งานเขียนชุด “มหากาพย์ชนชาติไท” บรรพสอง ‘หนูไฟ เป่าหน’ นักเดินทางผู้ยิ่งยง คงนามไท (ตอนที่ ๑)

“จางไห่ตื้งซิบสี่ เป่าปี่ขึ้นเมิ้งผี” ช่าง (นักดนตรี) สิบสี่ (คน) เป่าปี่ขึ้น (ไป) เมืองผี (สวรรค์)

“การเต้นรำของพระศิวะ : มุมมองของสสารฮินดูในแสงแห่งฟิสิกส์สมัยใหม่”

“…ครั้งนี้เป็นโอกาสเดียวและโอกาสสุดท้ายของเจ้าที่จะได้ประจักษ์ความจริงอันไม่คลอนแคลนเสียที เจ้าจงดูท่าอันข้าจะแสดงให้เห็นเป็นครั้งแรกในกาลบัดนี้ เจ้าจะได้แลเห็นการสร้างโลกและการทำลายโลกปรากฏอย่างชัดแจ้งในมหานาฏยะ คือการฟ้อนรำอันยิ่งใหญ่ของข้า แล้วเจ้าจะรู้ว่าเจ้าคือใคร ข้าคือใคร และสกลจักรวาลทั้งหมดนี้คือใคร ผู้ที่ได้เห็น ผู้ที่ได้ยิน จะเข้าถึงความจริงแห่งพระเจ้า เขาผู้นั้นจะไม่มีวันตกต่ำเสื่อมถอยสู่สภาพต่ำทรามอีกเลย เพราะเขาจะถึงความหลุดพ้นทุกข์ชั่วนิรันดร เนื่องจากเขาได้ถึงความจริงนี้แล”

ติดตามเรา





จากใจทางอีศาน

ปิดเล่ม ทางอีศาน 128

สมมุติกาลเวลาปี ๒๕๖๕ กำลังสิผ่านไป ได้เห็นปรากฏการณ์ฟ้าฝนน้ำมาก ที่ลุ่มชุ่มฉ่ำและเสียหาย คนนาดอนข้าวงาม สายน้ำปีนี้ยังชี้บอกว่า ระบบเขื่อนสร้างปัญหาบ่จบให้กับระบบนิเวศ - ธรรมชาติ - มนุษย์

ยิ้มรับปีใหม่

ยิ้มจากความไร้เดียงสา ยิ้มโดยธรรมชาติ ยิ้มจากพลังบวก แม้เพียงปรากฏที่มุมปาก ที่ดวงตา ยิ่งยิ้มทั้งใบหน้า ย่อมทำให้ผู้รับสารและแม้กระทั่งโลกทั้งใบสดชื่นแจ่มใสมีชีวิตชีวาทันที

ทศวรรษสากลของภาษาพื้นเมือง

วันที่ ๙ สิงหาคมของทุกปี สหประชาชาติกำหนดให้เป็นวัน “ชนพื้นเมืองดั้งเดิมของโลก” ปัจจุบันชนเผ่าพื้นเมืองมีสัดส่วนร้อยละ ๖.๒ ของประชากรโลก มีภาษาพูดกว่า ๔,๐๐๐ ภาษา (ทั้งโลกมีภาษากว่า ๗,๐๐๐ ภาษา) ซึ่งภาษาจำนวนมากนี้กำลังเสี่ยงต่อการสูญหาย ดังนั้นจึงเกิดโครงการ “ทศวรรษสากลของภาษาพื้นเมือง (พ.ศ.๒๕๖๕ - ๒๕๗๕)” ขึ้น โดย ยูเนสโก (UNESCO) - องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ เป็นผู้รับผิดชอบ

ศิลปวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์

สะดืออีสาน

สะดืออีสาน อยู่ติดกับบึงน้ำขนาดใหญ่ชื่อว่าบึงกุย ตั้งอยู่ที่หมู่ 13 ตำบลหัวขวาง อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม สถานที่แห่งนี้ชาวภาคตะวันออกเฉียงเหนือทราบกันดีว่าเป็นสัญลักษณ์หนึ่งของแดนอีสาน

วัดกู่ประภาชัย แบบบทของการดูแลพุทธสถาน

กู่ประภาชัยตั้งอยู่ในพื้นที่ของ “บ้านนาคำน้อย” ตำบลบัวใหญ่ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น เป็นพุทธสถานขอมโบราณ สร้างราวสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ หรือพุทธศตวรรษที่ ๑๘ นับเป็นอีกหนึ่งมรดกภูมิปัญญาบรรพชนคนอีสาน

บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๓)

ปัจจุบัน ‘กวีนิพนธ์ชาติพันธ์ุวรรณนา’ ได้รับความสนใจมากขึ้นในฐานะเป็น ‘ศาสตร์’ ที่ได้รับอิทธิพลจากทั้งวิชาคติชนวิทยา มานุษยวิทยา และวัฒนธรรมศึกษา ตามแนวคิดหลังสมัยใหม่

บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๒)

อีกหนึ่งตัวอย่าง ที่ดูง่าย ๆ แต่ก็ลึกซึ้ง คือบทกวีที่มีชื่อว่า “เล่นนอก” เป็นบทกวีที่ผู้เขียนชื่นชอบมากเป็นพิเศษอีกบทหนึ่ง

บทวิจารณ์แนวอรรถสาระ~สัจจนิยม~ชาติพันธุ์วรรณนา “ทาง”…หมาเก้าหาง ดั้นเมฆฟ้า (๑)

ผู้เขียน อ่าน “ทาง” ผลงานรวมบทกวีของ “ปรีดา ข้าวบ่อ” จบเล่มรวดเดียวเมื่อราวสามสี่ปีก่อน เพื่อใช้พูดสดในงานประชุมเสวนาทางวรรณกรรมครั้งหนึ่งของนิตยสารทางอีศาน ที่ไร่จิมทอมป์สัน ซึ่งคุณปรีดา ข้าวบ่อ บรรณาธิการทางอีศาน ได้ใช้โอกาสนั้นเปิดตัวหนังสือรวมผลงานกวีของตนเอง ชื่อว่า “ทาง”

มนต์เพลงอีศาน

“เดอะหมา มาแล้ว”

ผลงานเพลงวง “หมาเก้าหาง” ยุคใหม่ สไตล์อีศาน คลาสสิก ทางทีมงาน ขอขอบคุณทุกๆ ท่านที่ให้ความอนุเคราะห์ในการสร้างสรรค์งานวีดีโอชิ้นนี้ เป็นอย่างสูงครับผม

“ทางสั่น” Thang – sun

“ทางสั่น” การบรรเลงดนตรีนั้น มีหลักหนึ่งที่จะทำให้นักดนตรีปรับเปลี่ยนในมุมมองอะไรได้ทุกๆ อย่าง แต่ไม่ทิ้ง “หลักเดิม” ของทำนอง

สิงหา-กันยา : สองศรีพี่น้องเพลงพิณ

เสียงเพลงพิณได้ยินมาแต่ไกล ให้นึกถึงเพลงพิณของ มงคล อุทก “ชีวิตเหมือนพิณกรีดสาย เล่นไปตามลายตามสายเสียงเพลง คนนี้ใจนี้มือนี้ ชีวิตเขามีแต่ดนตรีบรรเลง...”

รำวงโบราณ อีสานย้อนยุค

หนุ่มสาวรำลอดผ่านซุ้มมีกติกาว่าเวลาหนุ่มสาววนมาถึงซุ้มสาวนางรำจะรอจังหวะให้หนุ่มเผลอแล้ววิ่งลอดผ่านซุ้มไปให้เร็ว เพราะถ้าหนุ่มวิ่งทันกันในซุ้มก็จะมีสิทธิ์ กอด หรือแตะต้องตัวสาวได้เฉพาะอยู่ในซุ้ม รำวงลอดถํ้าจึงเป็นที่นิยมสนุกสนาน ไม่เกินเลย ไม่เคยมีเรื่อง ทุกคนถือเป็นการละเล่นไม่ได้ล่วงเกินหากำไร

หนี้กรรม เพลงหักปากกาเซียน

ผ่านไปไม่กี่วันสถานีวิทยุต่าง ๆ เปิดเพลง “หนี้กรรม” ตามคำขอทางโทรศัพท์ ทางจดหมายของแฟน ๆ เพลง เป็นเพลงดังอย่างรวดเร็ว จนคนในวงการวิจารณ์กันว่าเป็นเพลง “หักปากกาเซียน” เพราะคนทั่วไปจะรู้ว่าเพลงที่เป็นสาระ เพลงเกี่ยวกับสถาบัน เกี่ยวกับธรรมะจะไม่ดังแต่เพลง “หนี้กรรม” กลับดังได้

Visions for Mo Lam in Mainland Southeast Asia : การก้าวข้ามพรมแดนทางวัฒนธรรมดนตรี

In the old days music of Isan or Northeast Thailand was rarely known or appreciated by outsiders. It was considered an inferior music; the musicians and singers (molam) were looked down by people or musicians of other cultures. The Isan people themselves, especially educated people---college students and professors, also felt insecure in their arts.

อีสานบ้านเฮา

สะบ้า เป็นได้มากกว่าของเล่น

ในวงสนทนาคํ่าคืนหนึ่ง เพื่อนที่มาด้วยกันจากในเมืองยื่นของสิ่งหนึ่งให้ดูแล้วถามว่า นี่ลูกอะไรเก็บมาจากพื้นดินเมื่อตอนเดินเที่ยวป่าตอนบ่าย ผมมองลูกกลมแบน สีนํ้าตาลอมแดง ขนาดกําได้ในฝ่ามือ แล้วตอบ อ๋อ เขาเรียกลูกสะบ้า ในป่าดิบชื้นนี่พบได้มาก แล้วรู้ไหมเมล็ดสะบ้านี่ เอาไปทําอะไรได้บ้าง

ห.หีบ

ครูโต้นแกมีลูกเขยเป็นครูชื่อ นพพร ครูนพพรเป็นครูรุ่นใหม่ มีแนวคิดที่ปฏิรูปการเรียนการสอนให้มันเข้ายุคสมัย ซึ่งขัดกับพ่อเฒ่าที่เป็นครูเก่า หัวโบราณ บางครั้งครูนพพรก็เคยลองภูมิพ่อเฒ่าเรื่องความรู้ใหม่ ๆ อยู่บ้าง ครูโต้นแกก็สามารถตอบและแก้ปัญหาที่ลูกเขยหัวใหม่มันลองภูมิได้ทุกครั้ง

รักลูก

บักกองมันเป็นคนขยันขันแข็ง ทําไร่ทํานาด้วยความเอาใจใส่ บ่ต้องให้ไผบอกตื่นแต่เช้ารีบออกไปยังหน้างาน ทำให้พ่อเฒ่ายอดแกชื่นชมในความขยันของบักกองผู้เป็นลูกเขยยิ่งนัก แต่บักกองมันก็มีเอกลักษณ์ อย่างหนึ่ง นั่นคือการหยอกล้อหรือแก่ลงพ่อเฒ่าให้ชื่นอารมณ์ หากวันใดมีโอกาสเหมาะบักกองจะรีบฉวยโอกาสทันที

ฟ้าผ่าคนขวง

ชีวิตของผู้คนที่อาศัยอยู่ “ทางอีศาน” ส่วนใหญ่มีอาชีพทํานา ทําสวน ทําไร่ ทุกเช้าต้องรีบออกไปทํางาน หนักเอาเบาสู้ตามประสาคนพื้นถิ่นที่ไม่ได้เรียนต่อชั้นสูง ถึงเวลากินข้าวก็มีลูกหลานนําสํารับกับข้าวไปส่ง แล้วร่วมวงกินกันแบบพอเพียง มีข้าวเหนียวเป็นพื้น ปลาแดกบอง ป่น แจ่ว กินกับผักพื้นบ้านตามท้องไร่ท้องนา ก็นับว่าเลิศรสวิเศษแล้ว

รายการสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย – นิตยสารทางอีศาน

นิตยสารทางอีศาน ลึกซึ้งถึงรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต รายการสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย ออกอากาศวันจันทร์ ถึง วันศุกร์ เวลา 14:00 น ถึง เวลา 16:00 น ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงพระพุทธศาสนา ศิลปะวัฒนธรรม ชมรมคนมีบุญ FM 97.00 เมกกะเฮิร์ต และ106.75 เมกะเฮิรตซ์ ออกอากาศพร้อมกัน วัดบ้านอ้น ตำบลดงลาน อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด ดำเนินรายการโดย ท่านทรภูไพร วันโพนทอง นายกสมาคมวิชาชีพสื่อวิทยุโทรทัศน์ภาคประชาชนจังหวัดร้อยเอ็ด

วิดีโออีสานพาเที่ยว

อีสานแซบ

ผักปลูกในสารละลาย…มุมมองจากธรรมชาติ

ผักปลูกในสารละลายหรือ... รู้จักสิ... เขาเรียก “ไฮโดรโปนิกส์” ใช่ไหม อร่อยดีนะ เดี๋ยวนี้ราคาไม่แพง หาซื้อได้ทั่วไปแล้ว ตามตลาดนัดก็ยังมี

‘หมูป่าเอาะเผือก’ สูตรเนื้อตุ๋นแบบอีสานของคุณปู่สู่คำนาง

ส่วนคำว่า “เอาะเผือก” หมายถึง การเอาะที่ชูรสด้วยเผือก แต่ถ้าชูรสด้วยหอม ก็เรียก “เอาะหอม” เน้นและย้ำว่า ให้เรียกชื่อวัตถุดิบหลัก ตามด้วยกรรมวิธีการทำให้สุก และปิดท้ายด้วยวัตถุดิบรอง

หมาน้อย มหัศจรรย์อาหารเป็นยา

“ปู่คะ ทำไมเราต้องกินหมาน้อยทุกครั้งหลังจากกินแกงเห็ดป่าด้วยคะ” คำนางถามปู่ขณะที่กำลังนั่งดูปู่ขยี้ใบหมาน้อยกับน้ำเปล่า “เพราะหมาน้อย เป็นยาวิเศษไงล่ะ” ปู่บอก พลางกรองเอาเศษใบหมาน้อยที่ขยี้จนใสแล้วออกจากน้ำสีเขียวข้นนั่น

นวนิยาย: กาบแก้วบัวบาน (๖)

“เจ้าก็รู้” เวียงจันทราย้ำคำพูดเสียงแจ่มใส “ที่ตระหง่านอยู่ต่อหน้าเจ้า คือเจดีย์พ้นทุกข์ ใครก็ตามที่มุ่งสู่ทางพ้นทุกข์ แต่ละคนดั้นด้นมากราบไหว้องค์เจดีย์ นั้นคือภารกิจพวกเขา ส่วนจะพ้นทุกข์หรือไม่ขึ้นอยู่กับวิธีการของแต่ละคน” ตวัดสายตากลับมาจ้องมองหน้าเหมราชเหมือนจะค้นหาอะไรบางอย่างที่ซ่อนลึกอยู่ในดวงตา “ทั้งเจ้า ทั้งข้า ทั้งองค์เจดีย์และผู้มากราบไหว้ ล้วนแต่มีภารกิจด้วยกันทั้งนั้น และภารกิจยังไม่สิ้นสุด”

เรื่องสั้น : กำแพง

ไอ้ห่า! มึงต่อยกับกูไหม ? ขบวนกลองยาวงานบวชพลันหยุดชะงัก จากขบวนแห่นาคกลับตาลปัตรเป็นสังเวียนมวยอย่างช่วยไม่ได้ หนุ่มเลือดร้อนรุ่นใหญ่ผมสองสีกลับมาท้าตีท้าต่อยกันกลางงานเหมือนเด็กวัยรุ่น

นวนิยาย : กาบแก้วบัวบาน (๕)

ข้าไม่มีเวลาได้ท่องเที่ยว ชายชุดขาวพูดด้วยสีหน้าขึงขังจริงจัง “บรรพบุรุษข้าเคยไปทวารวดี และศรีอโยธยา ปู่ข้าท่องลุ่มน้ำบางกอกมาแล้ว พ่อข้าบอกว่า เคยท่องเมืองล้านนา เมืองล้านช้าง แต่พ่อข้าห้ามนักห้ามหนา อย่าท่องเมืองรัตนโกสินทร์” หยุดหายใจ มองจ้องเข้าไปในดวงตาของเหมราชแล้วพูดเสียงหนัก ถ้ากรุงเทพฯ ที่เจ้าพูดถึงเป็นเมืองรัตนโกสินทร์ พ่อข้าห้ามไปเด็ดขาด

จดหมายจากนักอ่าน

คอลัมน์ จดหมาย

หลายปีนานมาแล้ว วันหนึ่งผมขึ้นเวทีอภิปรายบรรยายร่วมกับ “พ่อเล็ก กุดวงศ์แก้ว” ผู้นำอินแปง ผู้ซึ่งจะพูดเป็นภาษากะเลิง หรือภาษาอีสานแนวหนึ่งโดยไม่ผสมไทย เขาบอกว่า “ผมได้ยินคนพูดคำว่าวิสัยทัศน์มาบ่อยมาก ไม่เข้าใจแปลว่าอะไร ผมคนบ้านนอกจบแค่ ป.๔ แต่เมื่อฟังบ่อยเข้าก็เลยคิดเองว่า อ้อ มันคือสิแป๋ว่า ส่องซอด นั่นเอง” แล้วแกก็หัวเราะดังตามสไตล์คนอารมณ์ดี

คอลัมน์จดหมาย ทางอีศาน ๑๑๓ ฉบับ “ห่าตำปอด” – สมณะจันทเสฏโฐ, ชายชื้น คำแดงยอดไตย

เจริญธรรม คุณปรีดา ข้าวบ่อ ลูกชายแม่คำผาง พ่อลูกสาม คนทำหนังสือ อาตมาได้รับหนังสือหลายเล่มแล้วที่ส่งไปพร้อมกับคำคมบ่มชีวิต จะนำไปอ่านออกรายการวิทยุและบอกให้คนติดต่อซื้อจากคุณปรีดา เพื่อสนับสนุนให้คุณมีพลังในการทำหนังสือดีต่อไป.. - สมณะจันทเสฏโฐ

ภารตนิยาย : ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา แปล ตัด ต่อ แต่ง เติม จากคัมภีร์ภาษาสันสกฤต ปรากฤต และทมิฬ

ภารตนิยาย : ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา แปล ตัด ต่อ แต่ง เติม จากคัมภีร์ภาษาสันสกฤต ปรากฤต และทมิฬ โดยเริ่มตั้งแต่เรื่องต่างๆในคัมภีร์พระเวทตั้งแต่ ๔๐๐๐ ปี เรื่อยมาจนถึง มหากาพย์รามายณะ มหากาพย์มหาภารตะ และคัมภีร์ปุราณะต่างๆ ๑๘ คัมภีร์ ซึ่งเล่มสุดท้ายเขียนขึ้นเมื่อ ๑๐๐๐ กว่าปีนี่เอง

นิตยสารทางอีศาน

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com