คำฉันท์ (4) วรรณลีลามรดกชาติ

เดิมทีกวีไทยมิได้ดัดแปลงฉันท์ในคัมภีร์วุตโตทัยให้เป็นฉันท์ภาษาไทยครบทั้ง ๑๐๘ ชนิด ต่อมานายฉันท์ ขำวิไล เป็นผู้ดัดแปลงเพิ่มเติม เป็นฉันทวรรณพฤติ เพิ่มจากที่ มหาสมณะเจ้า พระปรมานุชิตชิโนรส ทำไว้ ๕๐ ชนิด

ข้าว มะพร้าว ตาล : เมรัยพฤกษ์ของไทย

เราไม่รู้แน่ชัดว่าเหล้าเกิดขึ้นเมื่อไร นิทานพื้นบ้านของไทยหลายท้องถิ่นกล่าวไว้คล้าย ๆ กันว่า มีเหล้าเกิดขึ้นจากการหมักของผลไม้ที่ตกค้างอยู่ในโพรงไม้ ตอนแรกก็เป็นลิงหรือสัตว์ป่ามากิน ต่อมามนุษย์ก็กินตาม กินแล้วก็เมาสนุกสนาน จนเลยเถิดเป็นโทษเป็นทุกข์ เล่าขานกันเป็นนิทานชื่อ “มูลละเหล้า” ชี้ให้เห็นเหตุอันควรละเลิกสุรา

ดอกมะเดื่อเป็นของหายาก…จริงหรือ?

คนในเมืองรู้เพียงว่า มะเดื่อเป็นชื่อต้นไม้ บ้างรู้ดีขึ้นไปอีกว่า ลูกมะเดื่อมักมีแมลงหวี่อยู่ข้างใน บ้างก็ว่าผลมะเดื่อฝรั่งนั้นอร่อยนัก คนชนบทเสริมว่า ใบและผลอ่อนของมะเดื่อกินได้ อีกคนบอกในป่ามีมะเดื่อลูกโต ผลสุกสีแดงหวานอร่อย

คำโตงโตย

ฮูปแต้มเรื่อง “เจ้าเมืองพะโคยกทัพมาประชิดเมืองพาน” จากนิทานประจำถิ่นเรื่อง อุสาบารส (จ.อุดรธานี, จ.หนองคาย) แสดงเหตุการณ์เมื่อครั้งนางอุสาได้พาท้าวบารสมาซ่อนไว้ที่หอคำ

๓๖๕ น้ำพริกกับสวนรอบบ้าน – ๘. น้ำพริก ผกค. สูตร ๓ น้ำพริกส้มห้วยกับต้มหวายใส่ปู

ครั้งหนึ่งพักกินข้าวเที่ยงข้างห้วย เพราะแลเห็นกอหวาย มีกิ่งอ่อน ๆ เยอะ จึงก่อไฟต้มแกงกันสักหน่อย คนนึงไปตัดหวายมาปอก คนนึงไปหลก (ถอน ดึง) ตะไตร้น้ำ กับ ส้มห้วย อีกหลายคนพากันพลิกก้อนหินในห้วยเพื่อหาปูภูเขา

ผักหวานบ้าน-ผักหวานป่า

ผักหวานของคนในกรุง กับผักหวานของคนชนบท เป็นไม้คนละชนิดกัน เพื่อมิให้สับสนชาวกรุงจึงเรียกผักหวานแบบดั้งเดิมที่พวกเขารู้จักว่า ผักหวานบ้าน และเรียกผักหวานของชาวชนบทว่า ผักหวานป่า ส่วนชาวชนบทยังคงเรียกผักหวานของเขาเช่นเดิม ไม่รับรู้ทั้งผักหวานบ้าน และผักหวานป่า

แกงอ่อมไก่ใส่ไข่อ่อน

ผักเหลือเยอะแยะเลยต้องหาเมนูกำจัดค่ะ ก่อนจะเน่าเสีย (เสียดาย อิอิอิ) ชอบแกงอ่อมใช้ผักเยอะดี ไม่มีไขมัน ไม่อ้วน ฮ่าๆๆๆ ใส่ผักไปเยอะแยะพอยุบเหลืออยู่นิดเดียวเอง

ผญาสมัย

งามวิว ​​ทิวทัศน์ฟ้า ผาหลั่นเลียนกัน เป็นถ้าน ​พะลานหิน ฮ่อมไพรพนอมไม้ พฤกษ์ภู ​​ดูสล้าง ลมพายใบพ่าง สะหวาง ​​งามหว่างใต้ ไกลก้ำต่ำขแมร์

ยาพิษแสลงใจ

มนุษย์รู้จักยาพิษ และใช้มันเพื่อปลิดชีพตนเองหรือผู้อื่นมานานนับพันปี ในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการฆาตกรรม ยาพิษมีข้อได้เปรียบคือ ไม่เปิดเผย ไม่ร้องเตือน และอาจไม่ทิ้งร่องรอย การประกอบยาพิษและการวางยาพิษ เป็นศิลปะที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญ และรอคอยเวลาที่เหมาะสม แต่กว่าเหยื่อจะรู้ตัว ฆาตกรก็เผ่นหนีไปไหนต่อไหนแล้ว หรือไม่ก็แสร้งร้องไห้คร่ำครวญอยู่ข้างศพผู้ตายนั่นเอง

คำฉันท์ (๖)

อเล่าถึงวรรณคดีอีสาน เรื่อง “นางแตงอ่อน” สักหน่อยหนึ่ง แม้ว่าฉันทลักษณ์เรื่องนี้จะเป็นโคลงลาว เหตุที่จำเป็นต้องกล่าวถึง เพราะวรรณคดีอีสานเรื่องนี้มีฉาก “การคล้องช้างเผือก” ด้วยบ่วงบาศเชือกปะกำ วรรณคดีภาคกลางที่บรรยายฉากการคล้องช้างไว้ละเอียดที่สุดคือเรื่อง “สมุทรโฆษคำฉันท์” เหตุที่กวีประพันธ์ฉากนี้ไว้ละเอียด น่าจะเนื่องจากพระราชนิยมของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงโปรดการคล้องช้างมาก ข้าพเจ้าเคยเขียนเล่าไว้ในคอลัมน์นี้ถึงห้าหกตอน

วันคล้ายวันเกิด ปรีดา ข้าวบ่อ

ผละจากอกพ่อแม่เพื่อเขียนอ่าน เรียนวิชาทำการบ้านผ่านฝึกฝน วาดหวังมีงานดีเลี้ยงชีพตน ออกดั้นด้นเดินทางตามโชคชะตา มาพบเพื่อนพบขบวนแห่งมวลมิตร วรรณศิลป์ขีดลิขิตยุคใฝ่หา กิจกรรมงานเคลื่อนไหวยอดวิชา หนุ่มสาวไร้เดียงสามุ่งหน้าไป...

๓๖๕ น้ำพริกกับสวนรอบบ้าน – ๔. น้ำพริกระกำ

ประโยชน์ใช้สอยสูงสุด คือตัดเอากิ่งระกำยาว ๆ มาสะ (วาง) เป็นรั้ว “สะ” คือการทำแนวรั้ว (ทำจากเอาไม้ ปักเสาแนวตั้ง แล้วก็วางกิ่งระกำเป็นแนวขวาง) ใครจะมุดเข้ามาในเขตสวนของเราก็ต้องแหวก “ระกำ” หนามแหลมยาวก่อน ประโยชน์รองลงมาก็คือได้กินผลระกำ

หลายวิธีใช้ประโยชน์จากเปลือกไข่

ไข่เป็นของหาง่ายในแทบทุกครัวเรือน เมื่อปอกเปลือกแล้วทิ้งก็จะเป็นขยะ ลองมาดูวิธีใช้ประโยชน์จากเปลือกไข่กัน ในเปลือกไข่มีกรดกำมะถัน เมื่อรดน้ำลงไปกรดกำมะถันจะถูกปล่อบออกมา และกรดนี้จะมีคุณสมบัติในการขับไล่แมลง แค่เผาเปลือกไข่ให้เกรียม นำไปไว้ตรงทางเดินหรือที่มดชุกชุม มดก็จะไม่มาบริเวณนั้นอีก

ผงชูรสกับรสอูมามิ

ป้ายที่เขียนว่า “ร้านนี้ไม่ใช้ผงชูรส” อาจเป็นจุดขายของบางร้านอาหารในเมืองกรุง แต่ถ้าเป็นต่างจังหวัด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเขตอำเภอรอบนอกแล้วละก็ เขียนแบบนี้อาจขายไม่ได้เลย ในชนบททุกวันนี้ อาหารพื้นบ้านที่ปรุงโดยชาวบ้านแท้ ๆ ล้วนขาดผงชูรสไม่ได้ นี่เป็นเรื่องจริง

คำผญา (๓)

ตกหมู่แฮ้งเป็นแฮ้ง ตกหมู่กาเป็นกา เมื่อเราคบใครเราก็เป็นอย่างนั้น เมื่อเข้าไปอยู่ในกลุ่มของอีแร้ง เราย่อมเป็นอีแร้งด้วย
1 2 3 6
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com