ประวัติศาสตร์การเมืองอีสาน ยุคใกล้กึ่งพุทธกาล (พ.ศ.๒๔๗๕-๒๕๒๕)
เมื่อจะเขียนถึงประวัติศาสตร์การเมืองอีสานยุคใกล้ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๗๕ - ๒๕๐๐ และระหว่าง พ.ศ. ๒๕๐๐ - ๒๕๒๕ ซึ่งเป็นช่วงกึ่งพุทธกาล อันมีเหตุสำคัญผันแปรเกิดขึ้นมากมายหลายครั้งในทางการเมืองของประเทศไทยเรา ความรู้สึกแรกที่เกิดกับผู้เขียนคือ มันเป็นเรื่องใหญ่มีผลสะเทือนลึกซึ้งยาวไกล และแทบทุกเหตุการณ์ก็เกี่ยวพันมาถึงการเมืองอีสานอย่างแยกไม่ออก นักการเมืองและผู้นำคนสำคัญของอีสานได้รับอานิสงส์ไปกับเขาด้วยทุกครั้ง
ขะลำ วัฒนธรรมในชาติพันธุ์อีศาน
ชาติพันธุ์อีศาน มีระเบียบแบบแผนการ ปกครองบานเมืองและการควบคุมสังคมสืบเนื่องกันมายาวนาน นอกจากฮีต ๑๒ คอง ๑๔ เป็นแนวปฏิบัติแล้วยังมีข้อห้ามอีกคือขะลํา หรือคะลํา ซึ่งมีการอบรมบอกสอนลูกหลานรับช่วงกันมาเป็น ช่วง ๆ นับว่าเป็นมรดกตกทอดมาจากโบราณ เป็นความเชื่อดั้งเดิม ไม่ปรากฏในประมวลกฎหมายใด ๆ เป็นแต่เพียงสิ่งที่ปฏิบัติสืบทอดต่อ ๆ กันมา
ปรากฏการณ์ภาษาอีสาน
ภาษาอีสานกำลัง “ฮิต” ทั้งในละครทีวี ในเพลงลูกทุ่ง สื่อวิทยุและสื่อสังคม นับเป็นปรากฏการณ์ที่น่าสนใจ ดาราน้อยใหญ่ที่ไม่ใช่ลูกอีสานต้องหัดออกเสียงสำเนียงอีสานให้ได้ นักร้องลูกทุ่งก็ต้องหาพี่เลี้ยงฝึกฝนจนร้องได้เนียน ๆ เหมือนคนอีสาน
แสงสว่างส่องทางสังคมไทย
ฮีต ๑๒ คอง ๑๔ ขนบธรรมเนียมและธรรมนูญชีวิตแต่โบราณ รวมทั้งแบบวิถีการบริหารจัดการตนเองที่ถูกกดทับ ระงับ ตั้งแต่ครั้งรวมศูนย์อำนาจจากทุกภาคเข้าไปอยู่เมืองหลวง เพื่อขีดเส้นแดนประกาศราชอาณาจักรขึ้นนั้น ถึงวันนี้โลกเปลี่ยนบ้านเมืองขยายตัวซับซ้อน ผู้คนพลเมืองมากล้นสังคมมีปัญหาหมักหมมมากมาย ชาวไทยจึงต้องสร้างองค์ความรู้ของตนขึ้นใหม่
เริ่มจากเรื่องใกล้ตัว เริ่มที่งานรูปธรรม
ข้อเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนคือ เราควรเริ่มจากเรื่องง่าย ๆ แม้การทำสิ่งใดบนโลกนี้ไม่มีอะไรง่ายเริ่มจากเรื่องใกล้ตัวไปไกลตัว เริ่มจากงานรูปธรรมสู่งานนามธรรม เริ่มจากครอบครัว เพื่อนบ้าน เพื่อนร่วมเรียนร่วมอาชีพ รวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อน ช่วยกันสร้างปัจจัยสี่ ให้มีกินมีใช้ มีความสุขในวิถีฮีต - คองวัฒนธรรมของตน กำหนดและเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม จากกิจกรรมกลุ่มขยายสู่กิจกรรมชุมชน
อองรี มูโอต์ (Henri Mouhot) ผู้เปิดดินแดนอินโดจีนสู่สังคมโลก
อองรี มูโอต์ มีผลทำให้ 'นครวัดนครธม' กลายเป็นสิ่งที่เลื่องลือถึงความมหัศจรรย์ของโลกตะวันออก (ตอนนั้นยังไม่มีคำว่าเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือคำว่าอุษาคเนย์) และก็เป็นผลทำให้ฝรั่งเศสสนใจในดินแดนอินโดจีนอย่างมหาศาล : ชาญวิทย์ เกษตรศิริ