มัณฑเลย์… สะ พา น ข้า ม กา ล เ ว ลา ตอนจบ
ภายในพระตำหนักไม้สัก เรียกได้ว่ามีการแกะสลักทั้งหลัง ด้านในยังมองเห็นทองคำที่ปิดไว้อร่ามงามตา พระเจ้ามินดงเป็นกษัตริย์ผู้สร้างพระราชวังมัณฑเลย์ (พ.ศ.๒๔๐๐) พระตำหนักแห่งนี้จึงทรงคุณค่าอย่างมาก หลังจากพระองค์สวรรคตในพระตำหนักนี้ (พ.ศ.๒๔๒๑)
ทางเมือบ้าน
สุริยา บ่ายค้าย แสงลับไลลา
มืดทะมึน เมฆา เคลื่อนมาแทนก้ำ
ฝ้าสีดำ คึ่มมึ้ม หลึมมาเป็นโง่น
ลมทั่ง เทิงถ่าว โหย้น โยนย้าวย่าวไกล
คำโตงโตย
“มี่หลุกเม้าเน้ซ้อน ลักล้อนจ่างแผดปิ่น
มีโว่ค่ายก้อเม้าจ่างเหล่ง ก๊าตั๊กสิงฮ้ายหน่าย
มีเม่เม้าจ่างหักก็ ก๊าตีกผักย้านกั่น”
อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : แผนการจาริก (๑)
หากโลกนี้มีเวทมนตร์สิ่งนั้นเห็นจะเป็น “แม่น้ำโขง” ที่เบื้องหน้าของฉันนี่เอง ก็จะไม่ให้เรียกว่าเวทมนตร์ได้อย่างไร ลองนึกถึงความมหัศจรรย์ของมันดูสิ จากเกล็ดหิมะเล็ก ๆ บนดินแดนหลังคาโลก เมื่อโดนความร้อนจากแสงตะวันจึงค่อย ๆ เปลี่ยนสถานะเป็นหยดน้ำเล็ก ๆ ที่รวมกันจนเป็นลำธาร
(๗) แถน ในวัฒนธรรมสายไทหลวง (ไทใหญ่, ไทมาว, ไทอาหม ฯลฯ)
ข้าพเจ้าขอเรียก ชาวไตในภาคตะวันตกของยูนนาน ในรัฐฉาน ประเทศเมียนมาร์ (ปัจจุบัน) ในรัฐอัสสัม ประเทศอินเดียปัจจุบันว่าชาวไตสาย “ไตหลวง” หรือ “ไตสายตะวันตก” เนื่องจากมีตำนานกำเนิดและรากเหง้าวัฒนธรรมคล้ายคลึงกันมาก
(๗) ความหลากเลื่อนของภาษา กับความหมายของคำ “ใหญ่-ยาย-นาย”
เราได้เคยถกแถลงกันเรื่องความหลากเลื่อนของภาษาตามแนวคิดของแดริด้า-นักคิดแนวรื้อสร้างผู้เรืองนามชาวฝรั่งเศสมาบ้างแล้ว โดยเริ่มจากคำว่า “ด้ำ” ซึ่งเป็นคำไทดั้งเดิม ต่อมาได้กลายเสียงเป็น “ด้าม” จากชื่อโคตรวงศ์ “หมื่นด้ำพร้าคต” เพี้ยนไปเป็น “หมื่นด้ามพร้าคด”