นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 27

มะกอก ในความคิดคำนึง

มะกอก ใคร ๆ ก็รู้ว่าเป็นชื่อต้นไม้ แต่ในหลายครั้งของการพูดคุยเรื่องมะกอก กลับพบว่า พูดกันคนละเรื่อง เพราะมะกอกของคุณกับมะกอกของผม อาจไม่ใช่มะกอกต้นเดียวกัน เพียงแค่ในสำนวน “มะกอกสามตะกร้า ปาไม่ถูก” ที่ได้ฟังติดหู ขึ้นใจ เป็นมะกอกชนิดไหน เพียงแค่นี้ ก็มีเรื่องให้ถกเถียงกันได้แล้ว

เงินตราโบราณ ในอีสานบ้านเฮา (ตอนที่ ๑๐)

เงินตราอีกชนิดหนึ่งที่เป็นที่รู้จักของคนอีสานหรือคนลาวในอดีตคือเงินตราจากเพื่อนบ้านอย่างอาณาจักรไดเวียต (เวียดนาม) และเงินตราจากอาณาจักรจีน ซึ่งแผ่อิทธิพลทางการเมืองและทางเศรษฐกิจเข้ามาในช่วงที่อาณาจักรล้านช้างอ่อนแอระสํ่าระสายจากปัญหาการเมืองภายใน โดยเฉพาะในช่วงศตวรรษที่ ๑๙ หรือประมาณปี ค.ศ.๑๘๐๐ ต้น ๆ นอกจากสยามจะมีอิทธิ พลทางการเมืองเหนืออาณาจักรล้านช้างแล้ว

ทางอีศาน 27: เบิ่งไทย

โดยทุกเหล่าทัพต่างได้รับงบประมาณเพิ่มจากปีที่แล้วทั้งหมด สำหรับกองทัพบกเป็นเหล่าทัพที่ได้รับงบประมาณมากที่สุด โดยได้แบ่งงบประมาณตามแผนงานรายจ่าย คือ แผนงานสร้างความปรองดองสมานฉันท์และฟื้นฟูประชาธิปไตย ๓๐ ล้านบาท แผนงานป้องกันปราบปรามและบำบัดรักษายาเสพติด ๒๐๘,๘๘๗,๐๐๐ บาท แผนงานการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้

ทางอีศาน 27: เบิ่งโลก

ยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯและจีน เกือบทุกประเทศใช้งบประมาณด้านการทหารเพิ่มขึ้นทุกปีตลอดมา ข้างต้นเป็นจำนวนเงิน (หน่วย: ล้านดอลลาร์สหรัฐ) งบประมาณด้านทหารของประเทศต่าง ๆ ในปี ๒๐๑๓ ประเทศในอาเซียนยังนับว่าใช้งบด้านทหารน้อยเมื่อเทียบกับประเทศในทวีปอื่น

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๒๗

ปีที่ ๓ ประจำเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๗

ฉบับ “โบราณสถานขอมในดินแดนไทย”

เรื่องเด่น:

– สนั่น ชูสกุล รายงานตรงจากญี่ปุ่น “คาซึฮิโร ชิจิริ ผีบ้าเกษตรอินทรีย์”

– ม่วนซื่นอีหลี “สี นานวล”

– สาส์นลึบให้สูญ “บุญมา ภูเม็ง”

– “เสี่ยว” นั้นฉันใด? บุญเรือง ถาวรสวัสดิ์

– ผู้บ่าวไทบ้านอีสานอินดี้ “มาลี ร้อยสีพันใบ”

– ตำนานสาวไหซอง ธีรารัตน์ ลีลาเลิศสุระกุล

เนื้อหาภายในเล่ม

๖ สาส์นจาก “ทางอีศาน”

๘ บทบรรณาธิการ ประเทศไทยต้องเปลี่ยนแปลง

๙ จดหมาย | “เขาบังภู”, “วัตรวาณี”

๑๒ กวีเสกศิลป์แม่นํ้าร้อยสาย | ศิวกานท์ ปทุมสูติ, ทนง โคตรชมภู

๑๓ เบิ่งโลก / เบิ่งไทย / เบิ่งอีสาน

๒๐ วันวานกับวันหน้า | “โชติช่วง นาดอน”

สวัสดิการสังคมที่เหมาะสม

๒๒ แสงเงาคมคำ | “สันติภาพ นาโค”

สินบน

๒๔ เรื่องจากปก | กอง บ.ก.

โบราณสถานขอมในดินแดนไทย (ปัจจุบัน)

๔๒ ล้านนาคดี | “อินทร์ ลงเหลา”

พระแซกคำ’ จากเชียงใหม่ สู่หลวงพระบาง สู่กรุงเทพ (๑)

๔๕ เขียนแผ่นดิน | เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์

ศรีพนมรุ้ง

๔๖ อุษาคเนย์เห่กล่อม | “จินตรัย”

การศึกษาในมือเรา เอาลูกหลานอยู่ สู่ปฏิวัติ ! (๓)

๕๐ อัตลักษณ์แห่งชาติพันธุ์อีศาน | วีระ สุดสังข์

ควดข้าวสะเดาะเคราะห์

๕๔ เดินหน้าฝ่าข้าม | สมคิด สิงสง

ฝ่าข้ามความขัดแย้งในหมู่ประชาชน

๕๘ คำถิ่นกลิ่นอายแขฺมร์ | “เขาบังภู”

พิธีแช่งนํ้า บ้านสลัดได (๑)

๖๒ บ้านเขาเมืองเรา | สนั่น ชูสกุล

คาซึฮิโร ชิจิริ ผีบ้าเกษตรอินทรีย์ในสังคมเคมีญี่ปุ่น

๖๙ ข่วงบักจุก | “จุก ชายคา”

๗๐ ข่าวคนอีศาน | “เวศม์ เวฬุคาม”

๗๓ รายงาน “ทางอีศาน” | “มาลี ร้อยสีพันใบ”

ผู้บ่าวไทบ้านอีสานอินดี้” หนังดีแบบอีสานบ้านเฮา

๗๖ นอกเครื่องแบบ | สมพงษ์ ประทุมทอง

เหตุเกิดที่ประเทศสารขัณฑ์

๗๙ นักเขียนอีสาน | “เจน อักษราพิจารณ์”

นเรศ นโรปกรณ์ : ผู้สร้างตำนาน “สาวเอยจะบอกให้”

๘๒ ทักษิณคดี | “กฏาหะ ไสร”

ตำนานมะโรง มหาวงศ์ พงศาวดารเมืองไทรบุรี

๘๖ เมืองอีสานเมื่อพันปี | ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง

ภาพพญาช้างเผือกเลี้ยงดูมารดาบนใบเสมาทวารวดีอีสาน

๘๘ รากเมือง | กาย อินทรโสภา

เงินตราโบราณในอีสานบ้านเฮา (ตอนที่ ๑๐)

๙๒ โลกนิติคำกาพย์ภาษาลาว | กอง บ.ก.

บทร้อยกรองของพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจฺนโท จันทร์) พ.ศ. ๒๓๙๙ – ๒๔๗๕

๙๔ กลอนลำฮีต-คอง | สุนทร ชัยรุ่งเรือง

ประเพณีเดือนแปด

๙๖ สาส์นลึบให้สูญ | “บุญมา ภูเม็ง”

๙๘ ผักหญ้าหมากไม้ | ผศ.ดร.ไชยยง รุจจนเวท

มะกอก ในความคิดคำนึง

๑๐๖ ม่วนซี่นอีหลี | “สี นานวล”

๑๐๘ วาดฟ้อนออนซอนศิลป์ | ดร.ธีรารัตน์ ลีลาเลิศสุระกุล

ตำนานสาวไหซองแห่งวงโปงลาง

๑๑๓ หมออีศาน | ศ.นพ.อมร เปรมกมล

โรคมะเร็งตับ และการรักษาทางแพทย์แผนไทย

๑๑๖ ส่องเมือง | เสรี พงศ์พิศ

แผนฟื้นฟูชีวิต

๑๑๘ แก่นเมือง | ชินวัฒน์ ตั้งสุทธิจิต

สมเด็จพระธีรญาณมุนี

๑๒๑ เสียงเมือง | “มหา สุรารินทร์”

ตามรอยเพลง ‘เต้ยไหลตาย’ ที่สิงคโปร์ ความพร้อมก่อนจะไปสู่อาเซียน

๑๒๔ หอมดอกผักกะแญง | อัตชีวประวัติ พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา

สู่ทางธรรม

๑๓๐ เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย | “ชัด การชนะ”, ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์

ควายกินผ้าขาวม้า

๑๓๒ เรื่องสั้น | วิไล ปัตตายะโส

เดนมนุษย์

๑๓๕ เฮาอยู่ยะลา | สฤษดิ์ ผาอาจ และ จารุณี ศรีหริ่ง

มาทิเซ่น สาวผู้ไทในนอร์เวย์ (๖)

๑๓๙ นวนิยาย | ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์

ศรีโคตรบูร ตอน ๒

๑๔๓ รายงานพิเศษ | กอง บ.ก.

โครงการฯทางอีศาน : สื่อ สร้าง สุข

๑๔๖ ห้องศิลป์อีศาน | ธีรภาพ โลหิตกุล

โขงนทีสีทันดร  ตอน ๖ “เชียงทอง” ของพระราชาผู้แม้แต่ฟ้ายังค้อมคารวะ

๑๕๑ เฮือนชานศิลปิน | ไพบูลย์ ธรรมเรืองฤทธิ์

จิระพงษ์ ศรีปราบหล่ม

๑๕๒ ศิลปะนำชีวิต | “ครูเบิ้ม เติมศิลป์”

จิตรกรลูกอีสานกับผลงานจิตรกรรมไทย

๑๖๐ ปิดเล่ม | กอง บก.

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com