By

ปรีดา ข้าวบ่อ

กำเนิด “หมาเก้าหาง” (3) “เทอด ทิทาด” – ธีระศักดิ์ จงจันทร์

“ผมเป็นคนขอนแก่นครับ แต่เกิดกรุงเทพฯ (เขาย้ำบอกว่าเป็น ‘เด็กเทพ’) แล้วพ่อพากลับมาอยู่บ้าน” ผู้ใส่สร้อยชื่อเล่นตัวเองว่า ‘ทิทาด’ มักเริ่มต้นแนะนำประวัติชีวิตของตนเช่นนั้น

กำเนิด“หมาเก้าหาง” (2) “ซัน นันธะชัย” – หัวหน้าวง

เขาออกจากบ้านมาทำหน้าที่หัวหน้าวง“หมาเก้าหาง” ออกตระเวนมอบความสุขให้พี่น้องตามชุมชนหมู่บ้าน รับงานอบรมสร้างวงโปงลาง กลองยาว แคน พิณ ฯลฯ

กำเนิด “หมาเก้าหาง” (1) “อุ้ม” – วิมลรัตน์ สุวมาตร์

เธอฝึกหัดเป่าแคนด้วยตัวเองกับพ่อครูที่บ้านโคกสะอาด อ.นาหว้า จ.นครพนม ตั้งแต่เรียนอยู่ชั้น ม. 2 และในขณะเป็นนักเเรียนเธอฝันที่จะเป็นคนหนึ่งในรถบัสของวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ ที่วิ่งผ่ากลางหมู่บ้านเธอเพื่อพานักศึกษาไปแสดงยังที่ต่าง ๆ

รื้อถอนและฟื้นสร้าง

สังคมไทยกำลังเดินไปสู่การผูกขาด กระชับอำนาจทุกด้าน โดยทุนภายในประเทศ อภิทุนข้ามชาติ ภายใต้อุดมการณ์อำนาจรัฐโบราณ สภาพเช่นนี้ได้สถาปนาสวรรค์สำหรับอภิสิทธิ์ชนทุกภาคส่วนทุกระดับชั้น

ปักหลักให้แน่น แก่นต้องมี

ท่ามกลางสังคมแสงสีเมืองใหญ่ ภาคส่วนอุตสาหกรรม ธุรกิจท่องเที่ยวบริการ ฯลฯ ที่มีเครื่องมืออุปกรณ์และการสื่อสารล้ำสมัย บันดาลให้กิจการการค้าขายเกิดดอกผลกำไรงาม แต่ในภาคส่วนการเกษตร ชีวิตชุมชนคนหมู่บ้านที่เปรียบดั่งกระดูกสันหลังประเทศ กลับไม่อาจหยัดยืนตรงให้คงมั่น ยิ่งนับวันยิ่งไร้หลักไร้แก่น ไร้ความคิดฝันจินตนาการ

ชูอาวุธ – “วัฒนธรรม” ขึ้น

ท่ามกลางความ “เน่าใน” ของทุกระบบสถาบัน ส่งผลให้สังคมไทยเสื่อมทรุดลงทุกด้านช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนยิ่งถีบห่างความต่างทางความคิดของผู้คนไกลกันดั่งฟ้ากับก้นเหว อาวุธที่คนเล็กคนน้อยจะใช้ต่อสู้เพื่อปากท้อง และเทิดศักดิ์ศรีความเป็นคนของตนในห้วงเวลานี้ คือ “งานวัฒนธรรม”

งานเปิดอนุสรณ์สถานประธานโฮจิมินห์ บ้านนาจอก นครพนม

ลุงโฮ เดินทางไปทุกทวีปทั่วโลกเพื่อศึกษาหาแนวทางมากู้เอกราช ปลดปล่อยประเทศจากการยึดครองของฝรั่งเศส (หลังจากถูกจีนปกครองมาพันปี) จากนั้นได้เดินทางทางเรือเข้ามาประเทศไทย โดยขึ้นฝั่งที่กรุงเทพฯ แล้วเดินทางไปพิจิตร อุดรธานี นครพนม ฯลฯ กระทั่งข้ามไปฝั่งลาว เพื่อให้การศึกษาและรวบรวมชาวเวียดนามให้มีจิตหนึ่งใจเดียวกัน

หมู่บ้าน มีร่างกาย ภูมิปัญญา และจิตวิญญาณ

เมื่อ ๒๐ ปีที่แล้ว เมืองไทยของเราประสบวิกฤตเศรษฐกิจ ต้มยำกุ้ง ฟองสบู่แตก สาเหตุมาจากยุคโลกาภิวัตน์ ประเทศใหญ่ครอบกินประเทศเล็ก คนเมืองนำทรัพยากรของชาติไปเล่นแร่แปรธาตุ ใช้เงินต่อเงิน จนทำให้ประเทศแทบล้มละลาย ซึ่งในครั้งนั้นเราก็ได้ หมู่บ้าน รองซับรักษาความทุกข์ร้อนของผู้คนพลเมือง

เจาะซอกหาแก่นอีสาน

เริ่มต้นแม้แต่ชื่อเรื่องของบทนี้ก็มีประเด็นให้ซอกหากันแล้ว คือคำว่า อีสาน ซึ่งฟังเผิน ๆ เหมือนจะรู้ ๆ กันอยู่ แต่เมื่อเจาะลึกก็ทำเอาสะอึกและสะดุดคิดทันที อีสาน เป็นชื่อทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ไม่ใช่ชื่อชาติพันธุ์วรรณา คำเรียกขานถึงคนที่เกิดอยู่บนที่ราบสูงทางภาคอีสานว่า คนอีสาน หลายคนจึงยังไม่ปลงใจรับ

ทางอีศาน 43 : บทบรรณาธิการ

อุดมการณ์ “ชาติ ศาสน์ กษัตริย์” ได้ถูกชูขึ้นให้สูงเด่น เพื่อรวมเลือดเนื้อชาติเชื้อไทยเข้าด้วยกันมานานมากแล้ว ผ่านการนำเสนอของนักคิด นักปฏิบัติการทางสังคม จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ “๑๔ ตุลา ๒๕๑๖” บางพื้นที่จึงเปิดรับแนวคิด และเพิ่มคำพ่วงท้ายว่า “ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชน” แต่นั่นก็หาใช่การตกผนึกทางความคิดของผู้ปกครองบ้านเมืองไม่

บทบรรณาธิการ ทางอีศาน 42 : สร้างโลกงาม

น่ายินดีที่วันนี้ วิถีชีวิต อัตลักษณ์ของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ของผู้คนในราชอาณาจักรไทย ได้ปรากฏตัวตนขึ้นเด่นชัด ซึ่งแสดงออกถึงความภาคภูมิและมั่นใจในพลังของตนเอง พร้อมก้าวเดินสู่โลกกว้าง จากข้อมูลของ “ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร” ประเทศของเรามีกลุ่มชนย่อยซึ่งมีชื่อเรียกตนเองอยู่ ๖๒ กลุ่ม มีภาษาถิ่นย่อยถึง ๗๐ ภาษา
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com