นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 72
฿100.00
เรื่องเด่น :
– ประกาศสงกรานต์ ๖๑ เถลิงศก ปีเปิกเส็ด โดย ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ
– เมื่อขอม ลาว สยาม ขยายเข้าคุมอีสาน โดย ธันยพงศ์ สารรัตน์
– สุพัฒน์ เจริญสรรพพืช พาไป “สืบสาวรากคำ ‘ด้ำ’”
– ๕๙ ปี “กุหลาบปากซัน” เรื่องจริงไม่หวานดั่งชื่อเพลง โดย “บรรณวัชร”
– สันติ เศวตวิมล จัดสำรับ กินสี่ถ้วย กินห้าถ้วย อาหารหวานคาวเมื่อคราวทำบุญ
– จาก “บรบือ” โดย “เขาบังภู” ถึง “เชฟบ๊ะ บ๊ะละฮึ่ม จ้ำบ๊ะ” ของ ประสิทธิ์ ไชยชมพู
สินค้าหมดแล้ว
รายละเอียด
๑ เขียนมนุษย์ | ช่วง มูลพินิจ ไฟตัณหา
๓ บทบรรณาธิการ | ปรีดา ข้าวบ่อ คึดฮอดบ้าน…งานบุญสงกรานต์
๖ สาส์นจาก “ทางอีศาน” (๑) ๑๑๓ ปีชาตกาล กุหลาบ สายประดิษฐ์ (“ศรีบูรพา”) (๒) ๖ ปีเต็ม นิตยสารรายเดือน “ทางอีศาน”
๑๑ เขียนแผ่นดิน | เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ หล่อทอง
๑๒ เฮือนชานศิลปิน | กอง บ.ก. ทวีศักดิ์ ไชยโกฏิ ผู้ได้แรงบันดาลใจจากความทรงจำ
๑๕ จดหมาย
๑๗ ผญาสมัย | ชาตรี เสงี่ยมวงศ์ ตาดโตนยามแล้ง
๑๘ อะคาเดมีชีวิต | เสรี พงศ์พิศ โรงเรียนประชาธิปไตย
๒๑ เบิ่งโลก – เบิ่งไทย | “โชติช่วง นาดอน” ปฏิรูปตำรวจ ๔.๐
๒๖ ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท | ชลธิรา สัตยาวัฒนา ๓๐ คำเก่าอย่าฟ้าวลืม | สุพัฒน์ เจริญสรรพพืช อรรถาธิบายคำว่า ‘ด้ำ’ โดยการสืบสาวให้ถึงรากคำ (ตอนที่ ๒ -จบ-)
๓๙ บทความ | คำแพง เกดตะวง แปลโดย ทองแถม นาถจำนง ตั่งเจือง หรือ ฆ้องบั้งหิน
๔๔ วัฒนธรรมแถน | ทองแถม นาถจำนง (๔) แถนในวัฒนธรรมมลายูดั้งเดิม
๕๒ ฮุ่งเฮืองเมืองปราชญ์ | ธันยพงศ์ สารรัตน์ เมื่อขอม ลาว สยาม ขยายเข้าคุมอีสาน : อำนาจรัฐโบราณในพื้นที่ลุ่มน้ำโขง ชี มูล ตั้งแต่สมัยเริ่มต้นจนถึงสิ้นสุด สมัยต้นรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.๑๗๙๒ – ๒๓๙๔)
๖๔ ภูมิบ้านนามเมือง | “เขาบังภู” บรบือ คืออะไร?
๖๙ ศัพท์เพเหระ | ประสิทธิ์ ไชยชมพู เชฟบ๊ะ บ๊ะละฮึ่ม จ้ำบ๊ะ
๗๐ รายงานพิเศษ | ขวัญชิต โพธิ์กระสังข์ กอนกวยจิตอาสา : ฟื้นฟูป่าชุมชน
๗๔ บทความ | ธวัชชัย พิณะพงษ์ ก่อนเป็น “อีสาน” และเจ้าแก้วมงคลสร้างเมืองทุ่ง (ตอนจบ)
๘๐ รายงานทางอีศาน | กมล หอมกลิ่น สังคมสื่อใหม่ เขียนอย่างไรไม่ตกยุค
๘๔ วิถีผู้ไท | เพ็ญศรี นิลโสม (๒๓) บันทึกของคนทำทาง (ต่อ)
๘๗ หงายหลังถ่วน | “ปลัดตื้อ” หลวงตากับอาโก
๘๘ เปิดผ้าม่านกั้ง | ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ ประกาศสงกรานต์ ๖๑ เถลิงศก ปีเปิกเส็ด
๙๔ บทกวี | “จุฬา ละคร” “สงกรานต์บ้านนา”
๙๘ ข่าวคนอีศาน | “เวศม์ เวฬุคาม” ๑๐๒ นักสู้ลูกข้าวเหนียว | นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ศรีสะเกษ ขวัญใจคนไทย คนหัวใจแกร่ง
๑๐๔ บทกวี | โกศล อนุสิม ถามข่าวท่งดงป่าเมษายน
๑๐๖ เสียงเมือง | “ทิดโส สุดสะแนน” คิดนอกกรอบในทางบวกและสร้างสรรค์
๑๐๙ ข่วงบักจุก | “จุก ชายคา”
๑๑๑ ลูกเถ้าแก่บ้านนอก | สุรินทร์ ภาคศิริ (๓๐) เพลงตลาด เพลงใต้ดิน
๑๑๓ มนต์เพลงสองฝั่งโขง | “บรรณวัชร” ๕๙ ปี “กุหลาบปากซัน” เรื่องจริงไม่หวานดั่งชื่อเพลง
๑๑๖ บันทึกชีวิต | จันทร์เพ็ญ ศรีมันตะ เดือนรำลึก
๑๒๑ นอกเครื่องแบบ | สมพงษ์ ประทุมทอง วรรคทองในวรรณกรรมเพื่อชีวิต เพื่อประชาชน (ตอนที่ ๕)
๑๒๖ แม่ช้อยนางรำ | สันติ เศวตวิมล (๑๗) กินสี่ถ้วย กินห้าถ้วย อาหารหวานคาวเมื่อคราวทำบุญ
๑๓๐ ลานข่วงคำกวี | “บุญผลา แสงดาวดั้ง” ใกล้ป่าเฮือนเพ ใกล้เซอึดปลาแดก, ของฮักษาเฮือน, ยาดี, มูนบาป
๑๓๒ นักเขียนอีสาน | “เจน อักษราพิจารณ์” สี่ทศวรรษกลุ่มวรรณกรรมลำน้ำมูล (๑) ๑๓๘ เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย | “ชัด การชนะ” / ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์ ขวยจีหล่อ
๑๔๐ นวนิยาย | ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ ลายแถนฟ้า ตอน ๑๕
๑๔๗ บทกวี | ตุลยา ตัณฑ์กำเหนิด “ศรัทธาชีพ”
๑๔๘ สาส์นลึบให้สูญ | “บุญมา ภูเม็ง” กาสรสมัยกับป่าอาริยา
๑๔๙ เวทีพี่น้อง | พลรวัฒน์ ดวงเข็ม ผูกเสี่ยวผู้เฒ่า ฮักแพงเบิ่งกัน
๑๕๒ เฮฮาสาระ | สหภพ ปานทอง นาคเมืองโขง
๑๕๔ บทกวี | อมรศักดิ์ ศรีสุขกลาง บุญสงกรานต์
๑๕๕ มรดกวัฒนธรรมจากบ้านจิมฯ | กอง บ.ก. ท่องบ้านไทย ใจกลางกรุง พิพิธภัณฑ์บ้านไทย จิม ทอมป์สัน (ตอน ๒ -จบ-)
๑๖๐ ปิดเล่ม | กอง บ.ก.