พิธีกรรมหลังความตายในครั้งบรรพกาลของชาวอุษาคเนย์
เรื่องราวพิธีกรรมหลังความตายในอดีตของชาวอุษาคเนย์ ถูกบันทึกไว้ในนิทานน้ำเต้าปุ้ง กล่าวถึงการปลงศพด้วยการเผาและการฝังมีการส่งข้าวปลาอาหารให้ผู้ตายเหมือนครั้งยังมีชีวิต
แม่ผู้เพาะต้นกล้าภาษา และวัฒนธรรมไทยในสวิส
“แม่ ใจเย็น ๆ แม่รอคิวก่อน”
เสียงเด็กชายหน้าตาฝรั้งฝรั่ง จับมือแม่บอกแม่ใจเย็น ๆ ถ้าเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่ท่าตูม เมืองสุรินทร์ หรือที่กรุงเทพ ย่อมไม่แปลก แต่ที่แม่ลูกยืนคุยกันอยู่นั้นคือที่ เมืองเวททิงเง่น รัฐอาร์เกา สวิตเซอร์แลนด์
กิ น ก้ อ ย ซี้ น
พ่อเฒ่ากิ เป็นผู้ใหญ่บ้านที่เข้มแข็ง เป็นคนเอาการเอางานดีมาก ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในอำเภอจะรู้จักแกดี หากมีงานสำคัญ ๆ ในอำเภอก็มักจะเรียกใช้แกเป็นแม่งานหลัก ผู้ใหญ่กิ แกมีถิ่นกำเนิดอยู่ “ทางอีศาน”
ผญา – ยอดวรรณกรรมอีสาน
ผญา เป็นสำนวนคำพูดที่ไพเราะ คมคายลึกซึ้ง สละสลวย คนอีสานนั้นเป็นคนมีโวหาร เจ้าบทเจ้ากลอน พูดจาเป็นคำคม มีสัมผัสคล้องจอง
ไพเราะ น่าฟัง ไม่ว่าจะเป็นโอวาท คำสั่งสอน คำตักเตือน ห้ามปราม หรือคำเกี้ยวพาราสีของหนุ่มสาวอีสานในอดีต สมัยโบราณนั้นคนอีสานมักพูดเป็นสำนวนภาษาแบบผญาเป็นส่วนมาก
วีรภาพในโศกนาฏกรรม
เดินหน้าฆ่าคนมือเปล่า มีบั้งเติมดาวบนบ่า
เบี้ยเลี้ยงเงินเดือนเหลือคณา อาวุธยุทโธปกรณ์
คำผญา (๑)
“มีเงินเต็มภาชน์ บ่ท่อมีผญาเต็มปูม”
มีเงินเต็มสำรับ ไม่เท่ามีปัญญาเต็มภูมิ