กลิ่นอายสงกรานต์
ดอกแดดแสงแสดแผดผ่าว ดอกคูนเหลืองพราวพูนฟ้า ดอกเห็ดผ่องพ้นดินมา เมษาสงกรานต์บ้านเฮา
หนึ่งวันที่จันทบุรี
ร่วมกับคุณอดิศร พวงชมพู ไปติดตามและมอบงานในพื้นที่ใช้ "สรรพสิ่ง"* เพื่อพัฒนาผลผลิตทุเรียน ณ บ้านชอง ต.คลองพลู อ.เขาคิชฌกูฏ จ.จันทบุรี
ขอพรแถน
ดอกคูนแย้มระย้าบานอีสานถิ่น
เหลืองโพลนทั่วธาณินทร์เวิ้งฟ้าใส
บ้างโรยร่วงรอรับคนจากไท
จากเหนือใต้กลับบ้านสงกรานต์นี้
การสูญหายของภาษาในชาติพันธุ์อีศาน
ในบรรดาชาติพันธุ์ต่าง ๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเพียงชาติพันธุ์ลาวและเขมรเท่านั้นที่มีภาษาเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นของตนเอง
หลุมศพ “โนนเมือง” ชุมแพ ราวกระดูกกว่าสองพันปีที่พูดได้
เมืองโบราณโนนเมือง อยู่ในพื้นที่บ้านโนนเมือง ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จังหวัดขอนแก่น จากหลักฐานทางโบราณคดีที่ขุดค้น พบว่าเคยเป็นสถานที่มนุษย์อยู่อาศัยมาอย่างต่อเนื่อง
ต้นกำเนิดนิทาน “ตาเจี้ย ตาลูน – ปลาบู่ทอง – เต่าคำ และซินเดอเรลล่า”
นิทานเรื่องปลาบู่ทองเป็นนิทานที่ชาวจ้วง –ลาว–ไท เล่าถ่ายทอดกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ ชาวไทยเรียก “ปลาบู่ทอง” ชาวล้านนาและไทใหญ่เรียก “เต่าน้อย อองคำ” หรือ “นางยีแสงก่อ” (คือนางเอื้อย) หรือ “นางอุทธรา” (คือนางเอื้อย) ทางลาวเรียก “เต่าคำ” ทางจ้วงเรียก “ตาเจี้ย” (นางกำพร้า, ‘ตา’ เป็นคำนำหน้าเรียกหญิงสาว, ‘เจี้ย’ แปลว่า กำพร้า)