แนะนำนักเขียนใหม่ “หลานเหลียน” เปิดคอลัมน์ “บอกฮักด้วยพาข้าว”
“หลานเหลียน” สาวอีสาน ในวัยสามสิบต้น ๆ จากขอนแก่น เมืองหมอแคนดินแดนดอกคูน ผู้มีความสามารถหลากหลาย ทั้งงานด้านวิชาการและธุรกิจ แบบคนรุ่นใหม่ แต่ด้วยความภูมิใจในฮีตคอง ขนบธรรมเนียมประเพณี อีสานบ้านเกิด
ท่องเที่ยววัฒนธรรม
เที่ยวท่องล่องรู้วัฒนธรรม
ลึกล้ำงำเหง้าเล่าขาน
คนสร้างค้นคิดนิทาน
ตำนานสานญาติชาติพันธุ์
นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 92
นิตยสาร “ทางอีศาน” ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๙๒ ประจำเดือนธันวาคม...Read More
ปิดเล่ม ทางอีศาน 91
ในช่วงสามเดือนนี้ ธรรมชาติเกี่ยวกับน้ำผูกพันกับชาวไทย วัฒนธรรมโบราณของชาวไทยจึงมีเรื่องเกี่ยวกับน้ำมาก
แต่ก็เนื่องจากวัฒนธรรมไทยเปลี่ยนไป เรื่อย ๆ ที่เห็นเด่นชัดก็เรื่องการนับวัน เวลา เดือน ปี เมื่อเปลี่ยนมาใช้การนับปฏิทินตามสุริยคติ สากล การนับเดือนก็เปลี่ยนไป...เป็นการนับตาม ฝรั่ง
วันนี้ของครูเพลง สัญญา จุฬาพร
แต่การจะกลับไปสู่ความเลวร้ายก็ใช่ว่าจะง่ายดาย ทั้งคู่ต้องเอาแรงเข้าแลก เพื่อหาเงินเป็นค่าเดินทางและค่าอยู่ค่ากินระหว่างทาง ต้องรับจ้างขุดดิน ตัดไม้ และงานใช้แรงงานสารพัดตลอดรายทางตั้งแต่อีสาน-สงขลา โดยใช้เวลาเดินทางไปและกลับร่วม ๓ เดือน และประสบการณ์ช่วงนี้เองที่เขาได้เอามาเป็นวัตถุดิบในการเขียนเพลง
คำโตงโตย
เห็นว่าปลาทอต้อน หมายซิตำปลาแดก บาดห่าต้อนเจ้าหลูคูเจ้าฮ้ง ซิพายข้องปึ่งดัง / ดร.ปรีชา พิณทอง อธิบายว่า ปลาออกันอยู่ที่หน้าต้อนเรียกว่าปลาทอหน้าต้อน “ต้อน” คือเครื่องมือจับปลา “หลู” คือทะลุ “ฮ้ง” คือน้ำไหลลอดคันต้อน พ่อค้าขายของเมื่อคนมาออกันที่หน้าร้านเพื่อดูสินค้า เจ้าของร้านดีใจว่าวันนี้แหละจะร่ำรวย...