คำโตงโตย

เห็นว่าปลาทอต้อน หมายซิตำปลาแดก บาดห่าต้อนเจ้าหลูคูเจ้าฮ้ง ซิพายข้องปึ่งดัง / ดร.ปรีชา พิณทอง อธิบายว่า ปลาออกันอยู่ที่หน้าต้อนเรียกว่าปลาทอหน้าต้อน “ต้อน” คือเครื่องมือจับปลา “หลู” คือทะลุ “ฮ้ง” คือน้ำไหลลอดคันต้อน พ่อค้าขายของเมื่อคนมาออกันที่หน้าร้านเพื่อดูสินค้า เจ้าของร้านดีใจว่าวันนี้แหละจะร่ำรวย...

อมตะอีศาน

ท่ามกลางการยกทัพจับศึกไล่ล่าฆ่าตัดหัวยึดทรัพย์กวาดต้อนคนมาเป็นทาส ผ่านการกระทำถูกดูถูกเหยียดหยามกดทับของสังคม จนถึงยุคอาณานิคมแล่นเรือลำใหญ่ข้ามทวีปมาตียึดเมืองกัน แล้วเกิดสงครามโลก สงครามเย็น จนเข้าสู่ยุคทุนนิยมเต็มตัว ผู้คนบนที่ราบสูงทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ - ภาคอีสานประเทศไทยก็สามารถต่อสู้ดำรงตนยืนหยัดสร้างบ้านแปงเมือง

ปู่สอนหลาน

อย่าเอาไก่ป่ามาเฮ็ดไก่ขวัญ- อย่ากินยาตางผู้ไข้- อย่าหาเหามาใส่หัว- อย่าเชื่อใจทาง อย่าวางในคน มันจนใจโต- อย่าเอาเสิกมาใส่บ้าน อย่าเอาหว้านมาใส่สวน

สังคมระบบบุญนิยม

ในยุคสมัยของโลกาภิวัตน์ คำที่ติดหูติดปากคงเป็นเรื่องของระบบ "ทุนนิยม" แต่ในวันนี้ข้าวต้มมัดถุงนี้ได้กลายเป็นสิ่งที่ยืนยันถึงการดำรงอยู่ของสังคมระบบ "บุญนิยม"

คำโตงโตย: ทางหลวง

ดร.ปรีชา พิณทอง อธิบายว่า ทางหลวงคือ ทางเส้นใหญ่ ทางเส้นใหญ่นั้นพระพุทธเจ้าถางไว้เพื่อให้พุทธบริษัทเดินตาม ทางเส้นใหญ่ได้แก่มรรคแปด มี สัมมาทิฏฐิ ? ความเห็นชอบ เป็นต้น มี สัมมาสมาธิ - ตั้งใจชอบ เป็นเส้นสุดท้ายพระองค์เดินตามทางใหญ่นี้จึงได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า แล้วสอนให้พุทธบริษัทเดินตาม ผู้เดินตามก็มี ไม่เดินตามก็มี

กาพย์ไขโคลงภาษิตลาว: เวลา

เป็นที่ทราบชัดเจนมานานแล้วว่า คำประพันธ์ประเภทโคลงของลุ่มเจ้าพระยานั้นได้รับอิทธิพลต้นแบบมาจากล้านนา และล้านช้าง โดยเฉพาะล้านช้างนั้นมีโคลงภาษิตเก่าแก่ซุกซ่อนไว้นมนานเพื่อสอนสั่งเตือนสติลูกหลาน บัดนี้ขอขุดค้นมาเผยแผ่แก่หลานเหลนลูกเพื่อปลูกผญาอันไร้กาลเวลาและพรมแดน
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com