อุรังคธาตุ – นิทานพเนจร : ที่จุดเริ่มต้นคือที่สุดท้าย – ตอนจบ
หลังกลับจากนมัสการพระธาตุหัวอก ฉันได้เริ่มเขียนบันทึกการพเนจรตามรอยบาทพระเจ้าเลียบโลกฉบับอีสาน เวลาล่วงผ่านจากฤดูร้อนครั้งนั้นบัดนี้มองผ่านหน้าต่างห้องช่อดอกคูนกลับมาบานอีกรอบแล้ว
นับบ่ฮอดสาม
“กรณ์เอ้ย! ฮ้องบอกโซเฟอร์จอดรถให้พ่อแหน่ พ่อปวดขี้”
“เดี๋ยว ๆ” บักกรณ์ประวิงเวลา
พ่อเฒ่าอุ้ยก็ทนอดกลั้นไปได้สักระยะหนึ่ง
อาการปวดท้องก็หนักขึ้น
“กรณ์! บอกโซเฟอร์แม๊ะ กูปวดขี้แฮงแล้วเด้อ!” พ่อเฒ่าอุ้ยย้ำอีกครั้ง
เมื่อนักเดินทางมาถึง เมืองพยัคฆภูมิพิสัย (นาข่า)
ภายหลังจากตั้งเมืองพยัคฆภูมิพิสัย
ได้ 5 ปี ตามบันทึกการเดินทางของ เอเจียน แอมอนิเย (Etienne Aymonier) ตรงกับ พ.ศ.2427 เขาได้เดินทางเข้ามายังเมืองพยัคฆภูมิพิสัย
เถ้ากระดูกที่หายไป ของหญิงชราร้อยหนึ่งปี
ผ่านร้อยหนึ่งปีของหญิงชรา
ณ ชายฝั่งทะเลอ่าวทองคำ
ชั่วชีวิตต่อบุญประเพณีแห่งโพธิญาณ
คลอหยาดเหงื่อหลั่งลงอาบร่าง ชโลมเลี้ยงการเติบโตของลูกทั้งสิบสอง
เครื่องเบญจรงค์
เบญจรงค์ แปลว่า ห้าสี จึงนิยมเรียกเครื่องเคลือบที่มีห้าสี หรือมากกว่า ว่า เครื่องเบญจรงค์
บุรีรัมย์
“บุรีรัมย์ตํานํ้ากิน” อยู่ในความทรงจําและความภาคภูมิใจในอดีตของชาวบุรีรัมย์ในฐานะที่เป็นคําพังเพยอันแสดงถึงความยากลําบากและทรหดอดทนของบรรพบุรุษผู้บุกเบิกแผ่นดินให้ประโยชน์ตกทอดแก่ลูกหลาน เหลน ในปัจจุบัน และในฐานะที่นําความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติมาใช้ประโยชน์แก้ปัญหาการขาดแคลนนํ้าได้อย่างเฉลียวฉลาด