รำลึก วันเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕

แนวคิดเศรษฐศาสตร์ในขณะนั้น ได้พัฒนาก้าวข้ามแนวคิดเศรษฐศาสตร์แบบเสรีนิยม ที่มองแรงงานว่าเป็นปัจจัยหนึ่งในกระบวนการผลิตแบบทุน หากแต่ได้นำเสนอมโนทัศน์ของแรงงานและราษฎร ในอีกลำดับขั้นของการพัฒนาที่เหนือกว่าและเป็นผลต่อเนื่องจากพัฒนาการในระบบทุนนิยมเอง เข้าสู่การเป็นเจ้าของและเป็นนายเหนือทุนและที่ดินเลย

บทบรรณาธิการ ทางอีศาน 14 นักการเมือง – งานการเมือง

นับจากประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ มาถึงเดือนมิถุนายน ๒๕๕๖ นี้ เป็นเวลา ๘๑ ปีแล้ว ยาวนานเท่ากับช่วงอายุของคนอายุยืนคนหนึ่ง

มะละกอ, “บักหุ่ง” : สร้างชีวิต สร้างชาติ

คนอีสานตั้งแต่ยุคสมัยสร้างบ้านแปงเมือง และพัฒนามาถึงปัจจุบันนี้ มีชีวิตอยู่กับธรรมชาติ ดำรงตนเรียบง่าย อดทน อดออม ขยันขันแข็ง มีคุณธรรมและฮีตคองที่ดีงาม ในด้านวัฒนธรรมการกินก็สะท้อนอัตลักษณ์โดดเด่นดังกล่าวมา

ผักปลอดสาร อาหารปลอดภัย กลุ่มบ้านหม้อ ขอนแก่น

ที่บ้านหม้อ ตำบลคูคำนี้ ถือเป็นแหล่งปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดขอนแก่น ผักปลอดสารพิษบ้านหม้อเป็นพืชผักที่ขึ้นชื่อและสร้างชื่อเสียงให้แก่อำเภอซำสูง ชาวบ้านหม้อปลูกผักปลอดสารพิษโดยใช้วิธีกางมุ้ง

ปิดเล่ม ฉบับที่ 13 ประจำเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๖

การปรับปรุงรูปเล่มในฉบับเดือนเมษายน มีเสียงสะท้อนด้านดี ชมเชยมาพอสมควร ทำนองว่าเดินมาถูกทางแล้ว ส่วนเสียงวิจารณ์ข้อผิดพลาดบกพร่อง เราน้อมรับเป็นข้อเตือนใจตลอดไป นักอ่านหลายท่านมาให้กำลังใจกันถึงบูธ “ชนนิยม” ในงานสัปดาห์หนังสือฯ

เฮาอยู่ยะลา : เสี่ยดำ (คนขายเกิบ)

ในปี พ.ศ. นั้น ดำขาย ‘ภาพโปสเตอร์’ อยู่บนฟุตบาธกลางเมืองยะลาได้สามปีแล้ว พี่คนที่ชักนำให้ดำลงมาอยู่ยะลาย้ายกลับอีสานบ้านเฮา ไปสอบบรรจุเข้ารับราชการครูใหม่อีกครั้ง ปัจจุบันญาติผู้พี่ของดำท่านนี้เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดสุรินทร์ “ช่วงเฮาขายโปสเตอร์ เฮาลำบากหลายเติบกินข้าวกับไข่ต้มเกือบทุกวัน บ้านก็เช่า ข้าวก็ซื้อ”
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com