วรรณกรรมไทยจากมุมมองญี่ปุ่น ผ่านข้อเขียนของ โช ฟุกุโทมิ
ทางอีศาน 12: ส่วนวรรณกรรมไทยนั้น ได้รับความสนใจจากคนญี่ปุ่นน้อยมาก เว้นแต่งานเขียนของนักเขียนหนุ่มรุ่นใหม่อย่างปราบดา หยุ่น ซึ่งได้รับการแปลเป็นภาษาญี่ปุ่นแทบทุกชิ้น และคนอ่านญี่ปุ่นให้การต้อนรับค่อนข้างมาก เพราะอะไร เดี๋ยวค่อยพูดถึง โช ฟุกุโทมิ ชี้ว่า คนญี่ปุ่นมองวรรณกรรมไทยอย่างเป็น (แค่) “ไกด์บุ๊ค” ซึ่งก็คือหนังสือนำเที่ยวนั่นเอง !
คำโตงโตย : ทางอีศาน 12
อย่าได้วาจาเพี้ยงเขาฮอขมขื่น คำปากอย่าได้ตื้นคือหม้อปากแบน อย่าได้แสนแพนหน้าวาจาเว้าอ่ง ฝูงพี่น้องพงษ์เชื้อซิบ่มี(วรรณคดี “ย่าสอนหลาน”)
เย็นทั่วหล้ากับอาเซียนฟีเวอร์ พะเรอเกวียน !
ปีนี้ศุกร์เป็นอธิบดีฝน บันดาลให้ฝนตก ๖๐๐ ห่า แบ่งเป็นตกในจักรวาล ๒๔๐ ห่า ตกในป่าหิมพานต์ ๑๘๐ ห่า ตกในมหาสมุทร ๑๒๐ ห่า และตกในโลกมนุษย์เพียง ๖๐ ห่า มีนาคราชให้น้ำเพียงตัวเดียว ฝนแรกปีมาก กลางปีงาม ปลายปีน้อยแลฯ คำทำนาย เกณฑ์ธัญญาหารชื่อ “ปาปะ” ข้าวกล้าในไร่นาจะได้ ๑ ส่วน เสีย ๑๐ ส่วน คนทั้งหลายจะตกลำบากยากแค้น เพราะเกิดกันดารอาหาร และเสียหายเป็นจำนวนมาก ทั้งจะเกิดอันตรายขึ้นกลางเมือง จะเกิดเพลิง โจรผู้ร้าย และจะเจ็บไข้นักแลฯ ปีนี้ถือว่าน้ำน้อย
มองเครือข่ายชาวบ้านราษีไศล
การชุมนุมปิดล้อมหัวงานเขื่อนเป็นเวลา ๖ เดือนในปี ๒๕๕๒ ปีที่ ๑๖ ในการเคลื่อนไหวต่อสู้ของชาวราษีไศลและเขื่อนหัวนาเป็นช่วงเวลาแห่งการก้าวกระโดดครั้งใหญ่
สองอาจารย์ศิลปะแห่ง มข.
ทางอีศาน ๑๑: ศิลปะนำชีวิตขอนำเสนอบุคคลที่เป็นอาจารย์และศิลปิน ซึ่งเริ่มต้นบนเส้นทางศิลปะคล้าย ๆ กัน เพราะทั้งสองท่านมาจากรั้วจามจุรีหรือจุฬาฯ คือ อาจารย์เอรุ่นพี่ อาจารย์บีรุ่นน้องชื่อเล่นจริง ๆ ที่ไม่ใช่นามสมมุติไม่ใช่นามแฝง ทั้งสองเป็นบุคลากรที่มีความสำคัญด้านการศึกษาวิชาศิลปะ สิ่งที่เหมือนกันคือการเข้ามาเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น
กลยุทธสามก๊ก
วงสนทนาวันนั้น มีผู้ เอ่ยถึงวรรณกรรมจีน กับวรรณกรรมอินเดีย พูดคุยกันถึงสามก๊ก ฉบับวณิพก ของยาขอบ ฉบับนายทุน ของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และฉบับเจ้าพระยาพระคลังหน