เถ้ากระดูกที่หายไป ของหญิงชราร้อยหนึ่งปี

ผ่านร้อยหนึ่งปีของหญิงชรา ณ ชายฝั่งทะเลอ่าวทองคำ ชั่วชีวิตต่อบุญประเพณีแห่งโพธิญาณ คลอหยาดเหงื่อหลั่งลงอาบร่าง ชโลมเลี้ยงการเติบโตของลูกทั้งสิบสอง

บุรีรัมย์

“บุรีรัมย์ตํานํ้ากิน” อยู่ในความทรงจําและความภาคภูมิใจในอดีตของชาวบุรีรัมย์ในฐานะที่เป็นคําพังเพยอันแสดงถึงความยากลําบากและทรหดอดทนของบรรพบุรุษผู้บุกเบิกแผ่นดินให้ประโยชน์ตกทอดแก่ลูกหลาน เหลน ในปัจจุบัน และในฐานะที่นําความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติมาใช้ประโยชน์แก้ปัญหาการขาดแคลนนํ้าได้อย่างเฉลียวฉลาด

จากอีสานถึงเอมีเลีย

ทางเลือกเพื่อการเกษตรมีหลายทาง อีสานมีปราชญ์ชาวบ้านมากมายที่ทำการเกษตรเพื่อการพึ่งตนเองไว้เป็นแบบอย่าง ตั้งแต่พ่อมหาอยู่สุนทรธัย พ่อเชียง ไทยดี ที่สุรินทร์ คุณสุทธินันท์ปรัชญพฤทธิ์ คุณคำเดื่อง ภาษี และอีกหลายคนที่บุรีรัมย์ และในทุกจังหวัดในภาคอีสาน

ของขวัญหน้าฝน

อ่อมปูนา เป็นอาหารเรียบง่ายประจำท้องถิ่นของคนอีสาน สามารถหามาได้จากแหล่งน้ำในนาข้าวช่วงต้นฤดูฝน โดยมีนางเอกของงานคือ ปูนา อ่อมปูนา อาหารพื้นบ้านประจำท้องถิ่นอีกจานหนึ่งที่อยากนำมาเสนอในเล่มนี้

น้ำเต้า

“วัฒนธรรม” ก่อกำเนิดมาจากวิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งมีรูปแบบการผลิตเป็นตัวหลัก คนเราทำมาหากินอย่างไร วัฒนธรรมก็งอกเงยจากสภาวะนั้น ชนเผ่าในอาเซียนเลี้ยงชีพด้วยการเพาะปลูกข้าวเป็นหลัก
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com