ทางอีศาน 70 : ปิดเล่ม
อนึ่ง ขอโปรดเข้าใจว่า การคลี่ภาพมายาคติเพื่อถอดรหัส ‘สัญญปริศนา’ ที่ค้างคาใจในงานเขียนชุดนี้ ผู้เขียนดำเนินการวิเคราะห์และตีความหมายอย่างลุ่มลึกก็จริง แต่กล่าวในเชิงกระบวนการการวิจัยนั้นเป็นการทำได้เพียง “ส่วนเสี้ยวหนึ่ง” ว่าด้วยเรื่อง “ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท” เท่านั้น
ทางอีศาน 69 : ปิดเล่ม
แวดวงธุรกิจต้อง “ดิ้น” กันเต็มที่ ส่วนหนึ่งดิ้นเพื่อให้อยู่รอดต่อไปได้ ส่วนหนึ่งซึ่งแม้เป็นยักษ์ก็ตามแต่ก็ต้องดิ้น เพราะยอดกำไรลดลงมากๆ เสียงกระซิบเบาๆ จากคน “วงใน” ของตลาดขายปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคจำเป็นในชีวิตประจำวันบอกว่า ยอดกำไรต่ำกว่าปี ๒๕๔๐ ที่เกิดวิกฤติต้มยำกุ้งเสียอีก!
ตาม “ลาว คำหอม” ไปเยี่ยมชายแดนใต้ (ตอนที่ ๑)
นานมาแล้วมีคณะครูได้พาเด็ก ๆ ใน ๓ จังหวัดชายแดนใต้กลุ่มหนึ่ง มาพบลุง “ลาว คำหอม” ที่ไร่ธารเกษม เด็ก ๆ วิ่งเล่นกันอย่างสนุกสนาน ส่งเสียงกรี๊ดกร๊าดตามประสาเด็ก แต่เมื่อเวลาจะจากกันเด็ก ๆ ไม่อยากไป มีเด็กคนหนึ่งเข้ามากอดลุงแล้วร้องไห้บอกว่า “หนูไม่อยากกลับบ้าน หนูอยากอยู่กับคุณตาทีนี่” สะเทือนใจผู้ได้ยิน โถ! บ้านหนูผู้ใหญ่เขาห้ามไม่ให้ออกไปวิ่งเล่นนอกบ้านอย่างเสรีซินะ
ชูอาวุธ – “วัฒนธรรม” ขึ้น
ท่ามกลางความ “เน่าใน” ของทุกระบบสถาบัน ส่งผลให้สังคมไทยเสื่อมทรุดลงทุกด้านช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจนยิ่งถีบห่างความต่างทางความคิดของผู้คนไกลกันดั่งฟ้ากับก้นเหว อาวุธที่คนเล็กคนน้อยจะใช้ต่อสู้เพื่อปากท้อง และเทิดศักดิ์ศรีความเป็นคนของตนในห้วงเวลานี้ คือ “งานวัฒนธรรม”
ทางอีศาน 68 : ปิดเล่ม
เดือนธันวาคม “ข้าวนาปี” เริ่มเก็บเกี่ยวกันแล้ว ในสมัยโบราณชนเผ่าต่าง ๆ ทุกชนเผ่ามีการเฉลิมฉลองการเก็บเกี่ยวธัญพืช ซึ่งอาจจะเรียกให้เข้าใจง่าย ๆ ว่า “เทศกาลข้าวใหม่” ไม่ว่าธัญพืชนั้นจะเป็น ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวชิงเคอ หรือข้าวจ้าว-ข้าวเหนียว ที่เป็นอาหารหลักของคนไท-ลาว
ทางอีศาน 66 : ทำดีถวายไท้
รัตนะ โกสินทร์ ถิ่นไทยรัก ซึ้งตระหนัก กษัตริย์ไทย ใจรักมั่น สามัคคี รวมแก่น แน่นรักกัน เทิดมิ่งขวัญ จักรี ศักดิ์ศรีไทย ‘พระภูมิพล’ เสด็จไหน ‘ใจไทย’อยู่ น้อมเชิดชู คำสอนสั่ง ตั้งใจใส่ จะกี่ภพ กี่ชาติ ตลอดไป จักทำดี ถวายไท้ เทอดนิรันดร์