วัฒนธรรมไท : ข้าว ผี ขวัญ แถน เงือก

ข้าพเจ้าพบว่า วัฒนธรรมไท(ทั้งหมด) ก่อนรู้จักพุทธพราหมณ์ สรุปรวบยอดได้ 5 คำ ข้าว ผี ขวัน(ขวัญ) แถน เงือก, ข้าว : การผลิตข้าวกำหนดให้เกิดพิธีกรรมต่าง ๆ ในรอบ 12 เดือน เป็นประเพณีสืบมา, ผี : คือระเบียบโลกที่คนต้องเคารพ

คำฉันท์ (4) วรรณลีลามรดกชาติ

เดิมทีกวีไทยมิได้ดัดแปลงฉันท์ในคัมภีร์วุตโตทัยให้เป็นฉันท์ภาษาไทยครบทั้ง ๑๐๘ ชนิด ต่อมานายฉันท์ ขำวิไล เป็นผู้ดัดแปลงเพิ่มเติม เป็นฉันทวรรณพฤติ เพิ่มจากที่ มหาสมณะเจ้า พระปรมานุชิตชิโนรส ทำไว้ ๕๐ ชนิด

คำฉันท์ (3) วรรณลีลามรดกชาติ

ต้นกำเนิดของฉันท์นั้น เกิดขึ้นในสมัยพระเวทเมื่อราวสี่พันปีที่แล้ว ซึ่งถ้อยคำในคัมภีร์ฤคเวทเป็นคำประพันธ์ประเภทฉันท์ ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ คือฉันท์ที่มีจำนวนคำไม่เกิน ๕๐ พยางค์ และฉันท์ที่มีพยางค์ ๕๐ – ๑๐๖ พยางค์

คดี เด่น คำแหล้ : พบท่อนไม้ มีร่องรอยถูกใช้แบกหามคนมาวางทิ้ง

ขอนไม้ที่พบ ชาวบ้านบอกว่ามีร่องรอยการผูกผ้าคล้ายกับว่าได้มีการแบกสิ่งของอย่างใดอย่างหนึ่งมาจากที่อื่น แล้วมาวางทิ้งไว้ในบริเวณดังกล่าว เพราะจากการตีวงค้นหาในรัศมีรอบจุดที่พบท่อนไม้ออกไปรอบด้านนั้น ไม่พบร่อยรอยของต้นไม้ที่ถูกตัดไม้ จึงสันนิษฐานว่า ท่อนไม้ดังกล่าวถูกหามมาจากที่อื่น

คำฉันท์ (2) จากอินโด-อารยัน สู่สยามพากย์

เคยมีค่านิยมที่ผิดข้อหนึ่งว่า คำฉันท์ เป็นกวีนิพนธ์ที่สูงค่ากว่าบทกวีฉันทลักษณ์ประเภทอื่นค่าของกวีนิพนธ์เขามิได้วัดจากรูปแบบฉันทลักษณ์ ไม่ว่ารูปแบบฉันทลักษณ์แบบใด กระทั่งร้อยแก้วกวีนิพนธ์ – Poetic Prose ถ้าเขียนได้ถึง จริง ก็คือกวีนิพนธ์ที่ทรงคุณค่า
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com