นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 26

ผักหวานบ้าน-ผักหวานป่า

ผักหวานของคนในกรุง กับผักหวานของคนชนบท เป็นไม้คนละชนิดกัน เพื่อมิให้สับสนชาวกรุงจึงเรียกผักหวานแบบดั้งเดิมที่พวกเขารู้จักว่า ผักหวานบ้าน และเรียกผักหวานของชาวชนบทว่า ผักหวานป่า ส่วนชาวชนบทยังคงเรียกผักหวานของเขาเช่นเดิม ไม่รับรู้ทั้งผักหวานบ้าน และผักหวานป่า

เงินตราโบราณ ในอีสานบ้านเฮา (ตอนที่ ๙)

ฉบับนี้จะพามาทําความรู้จักกับเงินตราอีกชนิดหนึ่งที่มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “เงินพดด้วง” ซึ่งมีลักษณะเป็นก้อนเงินกลม มีขา ๒ ข้าง เป็นเงินที่คนไทยสยามผลิตใช้กันมาต่อเนื่องยาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัยอยุธยา จนกระทั่งสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

ตำนานพญาศรีโคตรตะบอง

ตำนานพญาศรีโคตร, พญาศรีโคตรตระบอง, ພະຍາສີໂຄດຕະບອງ เป็นตำนานร่วมกันทั้ง แขมร, สยาม, ลาว เรื่องราวในตำนานคล้ายคลึงกัน พิจารณาแล้วน่าจะสะท้อนเรื่องราวประวัติศาสตร์ช่วง “มืดมน” คือช่วงล่มสลายของ “ยุคพระนครหลวง” (ยโศธรปุระ - นครธม) ร่วมสมัยกับการรุ่งเรืองขึ้นมาของรัฐที่ปกครองโดยชาวสยาม-ลาว

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๒๖
ปีที่ ๓ ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๗
ฉบับ ตำนานและดินแดน “ศรีโคตรบูร”

เรื่องเด่น:

– ปาฐกถาโดย ศ.ดร.ศรีศักร วัลลิโภดม

– นวนิยาย “ศรีโคตรบูร” ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์

– เรื่องสั้น “ความจริงไม่ตาย” ประชาคม ลุนาชัย

– อาหารกับพลังงาน เสรีพงษ์พิศ

เนื้อหาภายในเล่ม

๖ สาส์นจาก “ทางอีศาน”

๘ บทบรรณาธิการ “ทางอีศาน” คือ สื่อสร้างสุข

๙ จดหมาย | เสรี พิพัฒนชัยภูมิ, สุบรรณ เชษฐา

๑๑ กวีเสกศิลป์แม่นํ้าร้อยสาย | ศิวกานท์ ปทุมสูติ, ทนง โคตรชมภู

๑๒ เบิ่งโลก / เบิ่งไทย / เบิ่งอีสาน

๑๘ วันวานกับวันหน้า | “โชติช่วง นาดอน”

๒๐ แสงเงาคมคำ | “สันติภาพ นาโค”

ทำนา

๒๒ บทปาฐกถา | ศ.ดร.ศรีศักร วัลลิโภดม

อารยธรรมอีสาน : อยากรู้ไปทำไม ?

๒๕ เรื่องจากปก | กอง บ.ก.

ตำนานพญาศรีโคตรตะบอง

๓๘ เรื่องจากปก | ทองแถม นาถจำนง

ดินแดนศรีโคตรบูรตามจดหมายเหตุราชวงศ์ถัง (คริสต์ศตวรรษที่ ๗-๘)

๔๘ ล้านนาคดี | “ไพบูน” เขียน “อิน ลงเหลา” ถ่ายคำ

เมืองเก่าสุวัณณะโคมคำ

๕๒ เขียนแผ่นดิน | เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์

พระธาตุพนม

๕๔ สารคดีรางวัล โครงการสื่อศิลป์ฯ | มงคลฤทธิ์ มณีเลิศ

คน โขง ความทรงจำ พลัดพรากและพบพาน (ชีวิตเข้มข้นตอนจบ)

๖๒ บทกวี | “เดือนดวงเดิม”

รอวันฟ้าสาง

๖๔ อุษาคเนย์เห่กล่อม | “จินตรัย”

การศึกษาในมือเรา เอาลูกหลานอยู่ สู่ปฏิวัติ ! (๒)

๖๘ อัตลักษณ์แห่งชาติพันธุ์อีศาน | วีระ สุดสังข์

ฟืน ถ่าน หม้อข้าวและหม้อแกง

๗๓ ข่วงบักจุก | “จุก ชายคา”

๗๔ คำถิ่นกลิ่นอายแขฺมร์ | “เขาบังภู”

โชคนาสาม – โชคติม – โชคเพชร – บัวถนน

๗๘ ข่าวคนอีศาน | “เวศม์ เวฬุคาม”

๘๐ นอกเครื่องแบบ | สมพงษ์ ประทุมทอง

สวัสดีเซวัสโตโปล

๘๒ นักเขียนอีสาน | เจน อักษราพิจารณ์

เพชร สถาบัน” จากนักเขียนเรื่องบู๊สู่โลกแห่งธรรมะ

๘๔ ทักษิณคดี | “จิน เส้าหลิน”

ฉือถู่ – เชี้ยะโท้ 赤土 ชื่อดั้งเดิมของเสียนหลัว (สยาม)

๘๘ เมืองอีสานเมื่อพันปี | ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง

ทวารวดีอีสานปักใบเสมาล้อมรอบอุโบสถซ้อน ๓ ชั้น

๙๐ รากเมือง | กาย อินทรโสภา

เงินตราโบราณในอีสานบ้านเฮา (ตอนที่ ๙)

๙๓ โลกนิติคำกาพย์ภาษาลาว | กอง บ.ก.

บทร้อยกรองของพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจฺนโท จันทร์) พ.ศ. ๒๓๙๙ – ๒๔๗๕

๙๔ กลอนลำฮีต-คอง | สุนทร ชัยรุ่งเรือง

ประเพณีเดือนเจ็ด

๙๖ สาส์นลึบให้สูญ | “บุญมา ภูเม็ง”

๙๘ ผักหญ้าหมากไม้ | ผศ.ดร.ไชยยง รุจจนเวท

ผักหวานบ้าน-ผักหวานป่า

๑๐๑ เวทีพี่น้อง | กิตติ์ธนัตถ์ ญาณพิสิษฐ์

ผัวเฒ่าได้เมียหนุ่ม

๑๐๒ หมออีศาน | ศ.นพ.อมร เปรมกมล

โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke)

๑๐๔ ส่องเมือง | เสรี พงศ์พิศ

อาหารกับพลังงาน

๑๐๗ แก่นเมือง | ชินวัฒน์ ตั้งสุทธิจิต

หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ

๑๑๒ เสียงเมือง | “มหา สุรารินทร์”

ไทย เขมร ลาว ญวน ชักชวน คบหากันไป

๑๑๖ หอมดอกผักกะแญง | อัตชีวประวัติ พงษ์ศักดิ์

จันทรุกขา บริวารให้คุณ

๑๒๖ เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย | “ชัด การชนะ”, ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์

ครางแบบ…หมาหลง

๑๒๘ เรื่องสั้น | ประชาคม ลุนาชัย

ความจริงไม่ตาย

๑๓๕ นวนิยาย | ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์

ศรีโคตรบูร ตอน ๑

๑๔๐ เฮาอยู่ยะลา | สฤษดิ์ ผาอาจ และ จารุณี ศรีหริ่ง

มาทิเซ่น สาวผู้ไทในนอร์เวย์ (๕)

๑๔๗ เที่ยวทั่วทีป | นัทธ์หทัย วนาเฉลิม

บังตา

๑๔๘ ห้องศิลป์อีศาน | ธีรภาพ โลหิตกุล

โขงนทีสีทันดร ตอน ๕ เชียงของ : ความมั่งมีมั่งมูนแห่งลำโขง

๑๕๒ ศิลปะนำชีวิต | “ครูเบิ้ม เติมศิลป์”

จิตรกรอีสานพลัดถิ่น มาหากินในเมืองกรุง

๑๕๙ เฮือนชานศิลปิน | ไพบูลย์ ธรรมเรืองฤทธิ์

ธนนท์ ทองศรี

๑๖๐ ปิดเล่ม | กอง บก.

พร้อมเนื้อหาอันลึกซึ้งถึงรากเหง้า จากคอลัมน์ต่าง ๆ ในเล่ม และเรื่องสั้น – เรื่องยาว กวี สาระบันเทิงต่าง ๆ ครบครัน และเข้มข้นเช่นเคย

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com