รุ่นห้าร้อย
“ป๋า...หนูขอนั่งร่วมโต๊ะได้ไหม?”
“ได้เลยหนู” พ่อเฒ่าแอ้อนุญาตเพราะดูแล้วหน้าตาสวยดี บักตุ๊ดก็เป็นผู้จัดแจงหาเครื่องดื่มบริการ
“ป๋าขา... หนูมีเรื่องเดือดร้อนทางการเงิน หนูมีห้องพักแต่ค่าเช่าห้องไม่พอ อยากให้ป๋าช่วยสองพัน”
สาววัยรุ่นอ้อน
“ห้าร้อยได้ไหม?”
ความหมายของขันหมากเบ็ง ลาวล้านช้างโบราณ
ขันหมากเบ็งจ์ หรือ ขันหมากเบ็ง เป็นเครื่องสักการะชั้นสูง มีมาแต่โบราณในอาณาจักรไท ทั้งในล้านนา
(หมากสุ่ม หมากเบง) ล้านช้าง (ขันหมากเบ็ง หมากเบญจ์) เป็นบายศรีโบราณ อายุนับหลายพันปี มีจารึก
ในใบเสมาทวารวดี ประวัติที่ชัดเจนของขันหมากเบ็งจ์ตามหนังสือผูกใบลานกล่าวถึงขันหมากเบ็งจ์ ดังนี้
“ศักราชได้สมัยพระเจ้าฟ้างุ้มมหาราช พระเจ้าแผ่นดินชวาเชียงทอง (ล้านช้าง)
ฮีตเดือนสิบ เกิดจากคติเรื่อง “เมียหลวงอิจฉาเมียน้อย”
คำว่า ข้าวสลาก หรือ ข้าวสาก หรือข้าวกระยาสารท แปลว่า ของกินในฤดูสารท และคำว่า หม้อข้าว ข้าวทิพย์ ข้าวปายาส (ปายาด) ข้าวมธุปายาส ข้าวปาด ข้าวสัปปิยาคู ก็มีความหมายเดียวกันแต่เรียกต่างกัน คำว่า ข้าวสลาก มาจากคำว่า สารท (ศรทฺ) ในภาษาสันสกฤต (ภาษาบาลีมาจากคำว่า สรท) ต่อมาออกเสียงสากหรือสาด