ทางอีศาน 70 : ปิดเล่ม
อนึ่ง ขอโปรดเข้าใจว่า การคลี่ภาพมายาคติเพื่อถอดรหัส ‘สัญญปริศนา’ ที่ค้างคาใจในงานเขียนชุดนี้ ผู้เขียนดำเนินการวิเคราะห์และตีความหมายอย่างลุ่มลึกก็จริง แต่กล่าวในเชิงกระบวนการการวิจัยนั้นเป็นการทำได้เพียง “ส่วนเสี้ยวหนึ่ง” ว่าด้วยเรื่อง “ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท” เท่านั้น
ทางอีศาน 69 : ปิดเล่ม
แวดวงธุรกิจต้อง “ดิ้น” กันเต็มที่ ส่วนหนึ่งดิ้นเพื่อให้อยู่รอดต่อไปได้ ส่วนหนึ่งซึ่งแม้เป็นยักษ์ก็ตามแต่ก็ต้องดิ้น เพราะยอดกำไรลดลงมากๆ เสียงกระซิบเบาๆ จากคน “วงใน” ของตลาดขายปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคจำเป็นในชีวิตประจำวันบอกว่า ยอดกำไรต่ำกว่าปี ๒๕๔๐ ที่เกิดวิกฤติต้มยำกุ้งเสียอีก!
ทางอีศาน 68 : ปิดเล่ม
เดือนธันวาคม “ข้าวนาปี” เริ่มเก็บเกี่ยวกันแล้ว ในสมัยโบราณชนเผ่าต่าง ๆ ทุกชนเผ่ามีการเฉลิมฉลองการเก็บเกี่ยวธัญพืช ซึ่งอาจจะเรียกให้เข้าใจง่าย ๆ ว่า “เทศกาลข้าวใหม่” ไม่ว่าธัญพืชนั้นจะเป็น ข้าวสาลี ข้าวบาร์เลย์ ข้าวชิงเคอ หรือข้าวจ้าว-ข้าวเหนียว ที่เป็นอาหารหลักของคนไท-ลาว
ภาพคอนเสิร์ตการกุศล “อมตะอีศาน”
วันจันทร์ที่ 29 พฤษภาคม 2560 ณ โรงเบียร์เยอรมันตะวันแดง สาขารามอินทรา อมตะอีศาน : สมบัติ สิมหล้า – แคนเทวดา, อังคนางค์ คุณไชย – ราชินีหมอลำ อมตะศิลปิน : สลา คุณวุฒิ, ต่าย อรทัย, มนต์แคน แก่นคูน และศิลปินรับเชิญ – ละมัย แสงทอง อมตะนาฏลีลา : วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์
ทางอีศาน 61 : ปิดเล่ม
รัฏฐาธิปัตย์กำลังจะนำพาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) ไปทางไหน ? มีเรื่องราวที่เราจะนำมาเสนอใน ทางอีศาน อีกมากในฉบับต่อ ๆ ไป เดือนนี้ขอนำวิสัยทัศน์ของรัฐที่เสนอไว้เมื่อปีที่แล้ว ๒๕๕๙ มาเสนออย่างย่นย่อก่อนเท่านั้น
กำหนดการบำเพ็ญกุศล นางทองเติม นาถจำนง
กำหนดการบำเพ็ญกุศล นางทองเติม นาถจำนง (มารดานายทองแถม นาถจำนง บก.นิตยสาร“ทางอีศาน” และหนังสือพิมพ์สยามรัฐ) ณ ศาลาอาบศรี วัดบวรมงคล (วัดลิงขบ) ซอยจรัญสนิทวงศ์ ๔๖
ทางอีศาน 59 จดหมาย
เซิ้ง ไม่ได้หมายถึง รำ นะครับ หมายถึงการขับร้องอย่างหนึ่ง มีต้นเสียง มีหางเสียง ใช้ร้องเป็นแถวขบวนรอบหมู่บ้าน เช่น เซิ้งนางด้ง เซิ้งนางแมว เป็นต้น แต่ในนิตยสารกล่าวว่า มีเซิ้งศรีโครต เซิ้งภูไท เซิ้งกระติ๊บข้าว เซิ้งโปงลาง เซิ้งแหย่ไข่มดแดง ซึ่งเหล่านี้
ประชุมมูลนิธิทางอีศานวาระแรก
ประชุมคณะกรรมการมูลนิธิทางอีศานครั้งแรก วันที่ 11 - 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ณ ห้องประชุม หมู่บ้านอีสาน ไร่ จิม ทอมป์สัน อ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมา
จดหมายถึงทางอีศาน 58
จดหมายถึงทางอีศาน 58 จากฉัตรทิพย์ นาถสุภา, ประยูร สืบสาย, “ปลายนา ฤดูฝน”
ทางอีศาน 57 ปิดเล่ม
ทุกวันนี้ทั่วโลกใช้ปฏิทินระบบสุริยคติที่สันตะปาปาเกรกอรี่ ที่ ๑๓ ปฏิรูป เป็นสากล ถือวันที่ ๑ มกราคมเป็นวันขึ้นปีใหม่ คนไท-ไต ดึกดำบรรพ์นั้นใช้ปฏิทิน หนไท ที่ตรงกับระบบปฏิทินโบราณของจีนสมัยราชวงศ์ซาง (ก่อนขงจื๊อเกือบพันปี) ส่วนชาวจีนนั้นมีการปฏิรูปปฏิทินครั้งสำคัญในยุคราชวงศ์ฮั่น
จดหมาย ทางอีศาน 57
ทุกความคิดเห็น ทุกคำแนะนำ คือเสียงสวรรค์ ชาวคณะกอง บ.ก. พร้อมน้อมนำใคร่ครวญเพื่อปรับปรุงแก้ไขครับ ซึ่งทั้งหมดทั้งมวลเรามีจุดมั่นทิศหมาย ให้ก้าวเดินอย่างมุ่งมั่นและมั่นคง กรุณาแนะนำมาอีก และส่งข้อเขียนต่าง ๆ มาสบทบอย่าได้ขาดระยะนะครับ.
ทางอีศาน 56 ปิดเล่ม
การเมืองทั่วโลกปัจจุบันเป็นเรื่องของการต่อสู้แบบหมากัดกันระหว่างกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ที่ต้องการส่วนแบ่งก้อนโตที่สุดจากหีบสมบัติของภาครัฐ ภาวะปัจจุบันที่เรียกกันว่าการเมืองนั้น จริง ๆ แล้วไม่ใช่การเมือง แต่เป็น "สัมฤทธิ์ผลของกลุ่มผลประโยชน์” ถ้ามวลชนไม่รู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมการชูธงนำที่เป็นพิษ เช่น
ทางอีศาน 52 ปิดเล่ม
แนวคิด Industry 4.0 นี้ จะเป็นการบูรณาการโลกของการผลิต เข้ากับการเชื่อมต่อทางเครื่อข่ายในรูปแบบ “The Internet of Things (IoT)” คือการทำให้กระบวนการผลิตสินค้าเชื่อมกับเทคโนโลยีดิจิทัล หรือแม้กระทั่งทำให้ตัวสินค้าเองเชื่อมกับเทคโนโลยีดิจิทัล ยกตัวอย่างเช่น การมีระบบป้อนข้อมูลให้เครื่องจักรสามารถผลิตสิ่งของตามแต่การสั่ง
ห้องทดลองของ คาร์ล มาร์กซ์
ในขณะที่อรรถาธิบายทฤษฎีที่สำคัญข้าพเจ้าถือเอาอังกฤษเป็นตัวอย่าง แต่ว่าผู้อ่านชาวเยอรมันเมื่อได้เห็นสภาวะที่กรรมกรอังกฤษดำรงอยู่ก็ยักไหล่อย่างเสแสร้ง หรือเข้าใจว่าสภาวะการดำรงชีวิตของกรรมกรเยอรมันดีกว่ากรรมกรอังกฤษมากมายและปลอบใจตนเองแบบสุขนิยม
สาส์นจาก ทางอีศาน 52
รศ. วราพร สุรวดี อดีตอาจารย์ภาควิชาชีววิทยา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ วัย ๘๐ ปี ได้มอบมรดกที่ดิน บ้าน - สิ่งปลูกสร้างที่เป็นสถาปัตยกรรมและสิ่งของเครื่องใช้ลํ้าค่า ไว้เป็นสมบัติของแผ่นดิน โดยโอนให้กรรมสิทธิ์ กทม. ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๔๗ เมื่อเดือนที่ผ่านมา อาจารย์วราพรทราบว่าเจ้าของที่ดินข้างพิพิธภัณฑ์ฯมีแผนสร้างตึกสูง ๘ ชั้น ซึ่งจะบดบังทัศนียภาพพื้นที่สีเขียว