By

ผศ.ดร.เจริญชัย ชนไพโรจน์

นิทานนางตันไต ตอนที่ ๕

          ข้าแต่พระราซา บุรุษนั้นมี ๓ ซั้น คือ สูงสุด ผ้านกลางและต่ำ สะนั้นควรเลือกใช้ให้ถืกตามซนิดของงาน ทังสามสถาน  คนใซ้ก็ดี เครื่องเอ้ ก็ดี ต้องปร...
Read More

นิทานนางตันไต (ตอนที่ ๒) ปริวรรตจากฉบับภาษาลาวของ มหาสิลา วีระวงส์

แต่ปางก่อน ยังมีนครหนึ่งชื่อ อุทัยะนะมหานคร บริบูรณ์ไปด้วยสมบัติพัสถาน ทุกอย่างปานดั่งทิพย์สมบัติในเมืองฟ้า พระมหากษัตริย์ทรงพระนามว่า วิมะละจักพรรติราช เสวยราซะสมบัติอยู่ในนครนั้น พระองค์ทรงเดชานุภาพสูงสุดมีอาณาเขตแผ่กว้างไพศาลไปเกือบทั่วชมพูทวีป

การค้นพบสมุนไพรวิเศษ

ข้าพเจ้าได้อ่านหนังสือเรื่อง วันและคืนในป่าเมืองลาว เป็นหนังสือประวัติการทำสงครามในป่าเมืองลาว อันเป็นสงครามที่ยืดเยื้อยาวนาน ซึ่งเขียนโดย ท่านด่าว วันเตี้ยน และท่านสมสะหวาด เล่งสะหวัด เล่าถึงความเป็นไปของการประสานงานของฝ่ายเสนาธิการและการข่าวในแนวหลัง ในช่วงที่ฝ่ายอเมริกันได้ใช้เครื่องบินมาโปรยสารพิษที่เรียกกันว่า ฝนเหลือง (Yellow Rain or Agent Orange) เพื่อทำลายใบไม้ในป่า ไม่ให้เป็นที่หลบซ่อนของทหารแนวลาวฮักซาดและทหารเวียดมินห์ ในยุคสงครามเวียดนามระหว่างปี ๒๕๐๕ – ๒๕๑๔

นิทานเรื่องนางตันไต หรือปัญจะตันตระ (ตอนที่ ๑)

ผู้เขียนเคยเดินทางไปที่เวียงจันทน์เมื่อหลายปีมาแล้ว ได้มีโอกาสไปเยี่ยมหอสมุดแห่งชาติลาว และได้ซื้อหนังสือเกี่ยวกับภาษาและวรรณคดีลาวมาหลายเล่ม เล่มที่สำคัญคือ นิทานนางตันไต ผู้เขียนได้อ่านนิทานนางตันไตด้วยความเพลิดเพลินและสนุกสนานที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับสัตว์ต่าง ๆ ที่พูดได้ และผู้เขียนเคยถอดความของบทแรก ๆ ออกเป็นอักษรไทย และนำไปตีพิมพ์ในงานฌาปนกิจศพของญาติสองสามครั้งเป็นที่ถูกอกถูกใจของผู้ได้รับหนังสือนั้นไป

Visions for Mo Lam in Mainland Southeast Asia : การก้าวข้ามพรมแดนทางวัฒนธรรมดนตรี

In the old days music of Isan or Northeast Thailand was rarely known or appreciated by outsiders. It was considered an inferior music; the musicians and singers (molam) were looked down by people or musicians of other cultures. The Isan people themselves, especially educated people---college students and professors, also felt insecure in their arts.

หมอลำ และวาดลำ

หมอลำ หมายถึงผู้มีความเชี่ยวชาญในการลำ จนสามารถใช้ศิลปะการลำเป็นอาชีพสำหรับทำมาหากินเลี้ยงตนเองได้ วาดลำ หมายถึงลำนำหรือทำนองลำ ซึ่งเกิดจากฉันทลักษณ์และเสียงสูงต่ำ สั้นยาว ของถ้อยคำที่ประกอบขึ้นเป็นบทกลอนที่เรียกว่า กลอนลำ
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com