นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 15
฿100.00
นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับ “กำเนิดข้าว-ตำนานหมาเก้าหาง. ชีวิตชาวนาคือชีวิตประเทศไทย”
เล่มที่ 15 ปีที่ 2 ประจำเดือนกรกฎาคม 2556
◙ เรื่องเด่น
– กำเนิดข้าว
– ๘๑ ปี อุดมคติประชาธิปไตย โดย “โชติช่วง นาดอน”
– เมื่อลุ่มน้ำมูนถูกพัฒนาด้วย “เขื่อน” โดยสนั่น ชูสกุล
– ความหมายสำคัญของนิทานข้าว โดยจารุวรรณ ธรรมวัตร
– สัมภาษณ์ ดร.สมทรง โชติชื่น นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี, สังเวียน เสถียรชานาถ เกษตรกรอำเภอพล จังหวัดขอนแก่น
สินค้าหมดแล้ว
รายละเอียด
นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับ “กำเนิดข้าว-ตำนานหมาเก้าหาง. ชีวิตชาวนาคือชีวิตประเทศไทย”
เล่มที่ ๑๕ ปีที่ ๒ ประจำเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๖
◙ เรื่องเด่น
– กำเนิดข้าว
– ๘๑ ปี อุดมคติประชาธิปไตย โดย “โชติช่วง นาดอน”
– เมื่อลุ่มน้ำมูนถูกพัฒนาด้วย “เขื่อน” โดยสนั่น ชูสกุล
– ความหมายสำคัญของนิทานข้าว โดยจารุวรรณ ธรรมวัตร
– สัมภาษณ์ ดร.สมทรง โชติชื่น นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี, สังเวียน เสถียรชานาถ เกษตรกรอำเภอพล จังหวัดขอนแก่น
◙ เนื้อหาภายในเล่ม
๓ สาส์นจาก “ทางอีศาน”
๖ บทบรรณาธิการ ชีวิตชาวนาคือชีวิตประเทศไทย
๗ จดหมาย | ‘ปฐพี’, บรรณกร กลั่นขจร, Fukutomi Sho, “เขาบังภู”
๑๒ เบิ่งโลก / เบิ่งไทย / เบิ่งอีสาน
๒๐ วันวานกับวันหน้า | “โชติช่วง นาดอน”
๘๑ ปี อุดมคติประชาธิปไตย
๒๔ แสงเงาคมคำ | “สันติภาพ นาโค”
๒๗ เรื่องจากปก | กอง บก. กำเนิดข้าวไทย
๓๘ สัมภาษณ์ | กอง บก.
– ดร.สมทรง โชติชื่น นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี
– สังเวียน เสถียรชานาถ เกษตรกรอำเภอพล จังหวัดขอนแก่น
๔๖ ส่องซอด | ดร.วิวัฒน์ ศัลยกำธร, ดร.สมทรง โชติชื่น
๔๘ อีสาน : แผ่นดินแห่งการต่อสู้ | “ป.ม.ส.” การปรากฏตัวของนักการเมืองคนกล้า กับฉากอำลาตำแหน่งนายกฯ ของพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา
๕๕ เรื่องจากปก (ต่อเนื่องจากปกที่แล้ว) | วิวัฒน์ โรจนาวรรณ นายพันตรีหลวงศักดิ์รณการ ผู้แทนราษฎรคนแรกของบุรีรัมย์
๖๖ คำผญา ปรัชญากวี | “ยงค์ ยโสธร” หนาม
๖๘ อุษาคเนย์เห่กล่อม | “ปราโมช ปราโมทย์” วันภาษาไทยแห่งแชท ! (Chat !)
๗๐ อัตลักษณ์แห่งชาติพันธุ์อีศาน | วีระ สุดสังข์ ธาตุก่องข้าวน้อยองค์จริง อยู่ที่ไหน ?
๗๕ ข่วงบักจุก | “จุก ชายคา”
๗๖ เดินทวนหนทาง | สมคิด สิงสง บ้านข้อยพุ้น ดินดำน้ำชุ่ม
๘๒ คำถิ่นกลิ่นอายแขฺมร์ | “เขาบังภู” อุโลก อู่โลก
๘๕ ถนนสายอนาคต | “อภิชาติ ญัคค์” การเดินทางสู่โลกของชาวนา (๓) การศึกษาเศรษฐกิจครัวเรือนชาวนา
๘๘ บ้านเมืองเรื่องของเรา | สนั่น ชูสกุล เมื่อลุ่มน้ำมูนถูกพัฒนาด้วย “เขื่อน”
๙๔ ในเครื่องแบบ | สมพงษ์ ประทุมทอง ถึงเวลาปลิ้นสุ่มจัดการตนเอง
๙๖ ข่าวคนอีศาน | “เวศน์ เวฬุคาม”
๙๘ เฮ็ดอยู่เฮ็ดกิน | พิชิต ชัยสิทธิ์ “บ้านอุ่นรัก” ต่อยอดผ้าทออีสาน รายได้แบ่งปันสู่ชาวบ้านและชุมชน
๑๐๒ รายงานพิเศษ | สุดฤทัย นาอุ่นเรือน คืนสู่วัยเยาว์ ย้อนเข้าวันวาน กับ สัญญาหน้าเสาธง… หนังของคนอีสาน
๑๐๗ บทกวี | “เดือนดวงเดิม” วันนี้ที่อีสาน
๑๐๘ ใจอีศาน | จารุวรรณ ธรรมวัตร ความหมายสำคัญของนิทานข้าว
๑๑๑ หอมดอกผักกะแญง | อัตชีวประวัติ พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา ความทุกข์ของแม่
๑๑๕ นิทานก้อม | วีรยุทธ สุธาวรรณ ฝันเห็นกบแปลเป็นเลข ๓๒
๑๑๖ ส่องเมือง | เสรี พงศ์พิศ ข้าวคืนชีวิต
๑๑๘ แก่นเมือง | ชินวัฒน์ ตั้งสุทธิจิต หลวงปู่ชา สุภฺทโท
๑๒๒ เสียงเมือง | “มหา สุรารินทร์” ‘ข้าวไม่มีขาย’ ถึง ‘แรงงานข้าวเหนียว’
๑๒๖ หลงฮอยอีสาน | นัทธ์หทัย วนาเฉลิม ออกวัดสา
๑๒๙ เฮาอยู่ยะลา | สฤษดิ์ ผาอาจ บุญบั้งไฟในหุบเขา : เรื่องเล่าระหว่างทาง
๑๓๓ เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย | “ชัด การชนะ”, ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์ ห่อหมกอาตมาล่ะ !
๑๓๔ นวนิยาย | ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ กาบแก้วบัวบาน (ตอน ๑๕)
๑๔๑ เรื่องสั้น | ภิรเดช แก้วมงคล กำแพง
๑๔๖ บทความพิเศษ | ประอรพิชญ์ คัจฉวัฒนา “โชติช่วง นาดอน” จอมยุทธผู้มีปลายปากกาเป็นอาวุธ
๑๕๐ เรื่อย ๆ มาเรียง ๆ | “ปกรณ์ ปกีรณัม” Liver Fluke
๑๕๒ ห้องศิลป์อีศาน | ธีรภาพ โลหิตกุล มหัศจรรย์ ‘ภูพาน’ บันดาลใจ (๒)
๑๕๔ ศิลปะนำชีวิต | “ครูเบิ้ม เติมศิลป์” ศิลป์สร้างคน คนสร้างศิลป์ “คนคะนะมะ”
๑๕๙ ปิดเล่ม | กอง บก.
“คำโตงโตย” ไขคำ โดย ดร.ปรีชา พิณทอง และ “คำโจทย – คำแก้” โดย “นาย ชอบค้น”
พร้อมเนื้อหาอันลึกซึ้งถึงรากเหง้า จากคอลัมน์ต่าง ๆ ในเล่ม และเรื่องสั้น – เรื่องยาว กวี สาระบันเทิงต่าง ๆ ครบครัน และเข้มข้นเช่นเคย