นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 31

นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 31

฿100.00

◙ เรื่องเด่น
– เรื่องจากปก ชุมชนคารวะตะธรรม : อาทิตย์ บำรุงเอื้อ
– ความรู้ แบกะดิน : ครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์
– กลิ่นอายศิลปะเวียดนาม… ริมฝั่งโขง : อุไรรัตน์ โรจจ์นานนท์
– ของกินจากป่า : วุ้นหมาน้อย และวุ้นในปล้องไม้ไผ่ : ผศ.ดร.ไชยยง รุจจนเวท

สินค้าหมดแล้ว

หมวดหมู่: ป้ายกำกับ:

รายละเอียด

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๓๑
ปีที่ ๓ ประจำเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๗
ฉบับ: ชุมชนคารวะตะธรรม

◙ เรื่องเด่น
– เรื่องจากปก ชุมชนคารวะตะธรรม : อาทิตย์ บำรุงเอื้อ
– ความรู้ แบกะดิน : ครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์
– กลิ่นอายศิลปะเวียดนาม… ริมฝั่งโขง : อุไรรัตน์ โรจจ์นานนท์
– ของกินจากป่า : วุ้นหมาน้อย และวุ้นในปล้องไม้ไผ่ : ผศ.ดร.ไชยยง รุจจนเวท

◙ เนื้อหาภายในเล่ม

๖ สาส์นจาก “ทางอีศาน”
๘ บทบรรณาธิการ เริ่มด้วยมือเรา
๙ จดหมาย | ประสาสน์ รัตนะปัญญา
๑๐ เบิ่งโลก / เบิ่งไทย / เบิ่งอีสาน
๑๘ วันวานกับวันหน้า | “โชติช่วง นาดอน” สังคมเรียนรู้ – ต้องปฏิรูปการศึกษาก่อน
๒๑ เรื่องจากปก | อาทิตย์ บำรุงเอื้อ ชุมชนคารวะตะธรรม
๒๙ เขียนแผ่นดิน | เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ นํ้าสองสี
๓๐ อัตลักษณ์แห่งชาติพันธุ์อีศาน | วีระ สุดสังข์ ไปไทย, จีเซียม, จีซีม, โตวซีม คนพลัดถิ่นภายในประเทศของชาติพันธุ์อีศาน
๓๖ เดินหน้าฝ่าข้าม | สมคิด สิงสง ฝ่าข้ามสาหัสสมัย
๔๓ ข่วงบักจุก | “จุก ชายคา”
๔๔ คำถิ่นกลิ่นอายแขฺมร์ | “เขาบังภู” สำโรงทาบ – สำโรงเตียบ – ไทรทาบ
๔๘ บ้านเขาเมืองเรา | สนั่น ชูสกุล การต่อสู้เพื่อการอยู่รอดของ “ชุมชน” เรียนรู้จากอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และญี่ปุ่น
๕๔ ที่นี่…กรมราษฎรส่งเสริม | ครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์ ความรู้แบกะดิน
๕๗ สาส์นลึบให้สูญ | “บุญมา ภูเม็ง”
๕๘ ข่าวคนอีศาน | “เวศม์ เวฬุคาม”
๖๐ นอกเครื่องแบบ | สมพงษ์ ประทุมทอง ภาษากีฬา – ภาษาอีสาน
๖๒ รายงานด้วยภาพ | กอง บก. “แก่งละว้า” สายเลือดคนอีสานตอนกลาง
๖๘ รายงานโครงการสะหวันซิตี บนเส้นทางสู่ความสำเร็จ…กว่าจะเป็น “สะหวันซิตี”
๗๑ ผญานิพนธ์ | ชัชวาลย์ โคตรสงคราม เฮียมบ่มีใจคิดใคร่เมือเมืองบ้าน
๗๒ รายงาน “ทางอีศาน” | อุไรรัตน์ โรจจ์นานนท์ กลิ่นอายศิลปะเวียดนาม…ริมฝั่งโขง
๗๖ วาดฟ้อนออนซอนศิลป์ | ดร.ธีรารัตน์ ลีลาเลิศสุระกุล ลมหายใจหมอลำสีพันดอน สปป.ลาว
๘๔ ทักษิณคดี | ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์ ผ้าไทย ผ้าทอ ผ้าถิ่น
๙๐ ล้านนาคดี | “อินทร์ ลงเหลา” ปัญจาลนคร – เปงจาน
๙๔ เมืองอีสานเมื่อพันปี | ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง “สุวรรณสามชาดก” บนใบเสมาทวารวดีอีสาน
๙๖ รากเมือง | กาย อินทรโสภา เงินตราโบราณในอีสานบ้านเฮา (ตอนที่ ๑๔)
๑๐๐ กลอนลำฮีต-คอง | สุนทร ชัยรุ่งเรือง ประเพณีเดือนสิบสอง
๑๐๒ ผักหญ้าหมากไม้ | ผศ.ดร.ไชยยง รุจจนเวท ของกินจากป่า:วุ้นหมาน้อย และวุ้นในปล้องไม้ไผ่
๑๐๖ หมออีศาน | ศ.นพ.อมร เปรมกมล คุณค่า ๓ ประการของนํ้าหมัก (๓ – จบ) กลไกการรักษาแบบเจือจางของนํ้าหมัก
๑๐๘ เวทีพี่น้อง | บุญเรือง ถาวรสวัสดิ์ “ปลาแดก” นั้นฉันใด
๑๑๔ เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย | “ชัด การชนะ”, ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์ กลับจากอบรม
๑๑๖ เรื่องสั้น | ปิยะพงษ์ คลังทอง ในร่างนก
๑๒๘ ส่องเมือง | เสรี พงศ์พิศ มวยไทย
๑๓๐ แก่นเมือง | ชินวัฒน์ ตั้งสุทธิจิต พระอาจารย์อินทร์ถวาย สนฺตุสสโก
๑๓๔ เสียงเมือง | “มหา สุรารินทร์” เวียดนาม รอยบาดแผลของสงครามในเพลงลูกทุ่ง
๑๓๘ เฮาอยู่ยะลา | สฤษดิ์ ผาอาจ และ จารุณี ศรีหริ่ง มาทิเซ่น สาวผู้ไทในนอร์เวย์ (๙) : แม่เฒ่ากับลูกเขย
๑๔๓ นวนิยาย | ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ ศรีโคตรบูร ตอน ๖
๑๔๙ ม่วนซื่นอีหลี | “สี นานวล”
๑๕๐ ห้องศิลป์อีศาน | ธีรภาพ โลหิตกุล โขงนทีสีทันดร ตอน ๑๐ ตำนานพญานาค สำนึกร่วมที่ฝังลึกของชาวสองฝั่งโขง
๑๕๔ ศิลปะนำชีวิต | “ครูเบิ้ม เติมศิลป์” ครูแดง บ้านศิลป์ไทย – คนไทยหัวใจสิงห์
๑๕๘ เฮือนชานศิลปิน | ไพบูลย๋ ธรรมเรืองฤทธิ์ สงวน มั่งมูล
๑๕๙ ปิดเล่ม | กอง บ.ก.

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com