นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 47
฿100.00
เรื่องเด่น
– ปัญจอันตรธาน : สาระสำคัญในงานบุญผะเหวด
– ที่ราบสูง ๒๐ จังหวัด : ร้อยเอ็ด
– ทักษิณคดี : ชาติพันธุ์ในแหลมมลายู
– ดูชะตาวันเดือนปี : ตำราพระอริยานุวัตร (อารีย์ เขมจารี)
สินค้าหมดแล้ว
รายละเอียด
นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๔๗
ปีที่ ๔ ประจำเดือนมีนาคม ๒๕๕๙
ฉบับ: อัตลักษณ์อีสานและการพัฒนาทางวัฒนธรรม
เรื่องเด่น
– ปัญจอันตรธาน : สาระสำคัญในงานบุญผะเหวด
– ที่ราบสูง ๒๐ จังหวัด : ร้อยเอ็ด
– ทักษิณคดี : ชาติพันธุ์ในแหลมมลายู
– ดูชะตาวันเดือนปี : ตำราพระอริยานุวัตร (อารีย์ เขมจารี)
เนื้อหา:
๖ สาส์นจาก “ทางอีศาน”
– ร่วมประกอบส่วน
– หนังสือเหี่ยวเฉาและร่วงโรยจากแผง
๘ บทบรรณาธิการ “หมู่บ้าน” มีร่างกาย ภูมิปัญญา และจิตวิญญาณ
๑๐ จดหมาย | ปรียาภัทร ขัดทรายขาว, Taxamon Nukulchitkit, ฐิติรัตน์ ดิศโยธิน
๑๑ ม่วนซื่นอีหลี | “สี นานวล” ท่งฮ้างนางฝัน
๑๒ ห้องศิลป์อีศาน | ธีรภาพ โลหิตกุล พลับพลาเปลื้องเครื่อง
๑๖ เขียนแผ่นดิน | เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ สุดแผ่นดิน – ป่าหินงาม
๑๘ ส่องเมือง | เสรี พงศ์พิศ แก่นอีสาน (๓)
๒๑ ข่วงบักจุก | “จุก ชายคา”
๒๒ เปิดผ้าม่านกั้ง | ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ ปัญจอันตรธาน : สาระสำคัญที่ไม่ควรมองข้ามในงานบุญผะเหวด
๓๑ รายงาน “ทางอีศาน” | อังสุมาลิน ราชม เปิดบ้าน “เค จัน มูน” โสเหล่เรื่อง อัตลักษณ์อีสาน
๓๖ วันวานกับวันหน้า | “โชติช่วง นาดอน” อัตลักษณ์อีสาน และทิศทางการพัฒนาทางวัฒนธรรม
๔๓ ตามรอยเส้นทางสายวัฒนธรรม พระปาจิต นางอรพิม | ดร.รังสิมา กุลพัฒน์ เส้นทางวัฒนธรรมคืออะไร
๔๖ ที่ราบสูง ๒๐ จังหวัด | กอง บ.ก. ร้อยเอ็ด
๖๐ คำถิ่นกลิ่นอายแขฺมร์ | “เขาบังภู” จรูกแขวะ– จักจรูก – ซีจรูก – กาบกระบือ –กาบเชิง – ล้างเชิง
๖๔ แสงเงาคมคำ | “สันติภาพ นาโค” ใช่หรือไม่
๖๕ มรดกวัฒนธรรมจากบ้านจิมฯ | “ศิรเทพ ๑๑๐๗๘” พระพุทธรูป ปางแสดงธรรม ศิลปะลพบุรี
๖๘ เฮฮาสาระ | สหภพ ปานทอง ขอมคือใคร, ดูไม่รู้เรื่อง
๗๐ บทกวี | เสมือนทิวาและราตรี มณี คือความบริสุทธิ์จากใจ
๗๒ ปรัชญาอีสาน | วีระ สุดสังข์ คำผญา (๓)
๗๕ ลูกเถ้าแก่บ้านนอก (เจ๊กโคก) | สุรินทร์ ภาคศิริ, สมศักดิ์ มงคลวงศ์ เรื่องวิทยุถ่าน หีบเพลง และโรงหนัง
๗๙ ผญาสมัย | ชาตรี เสงี่ยมวงศ์ ครูสุรินทร์ ภาคศิริ ครูเพลงลูกทุ่งไทย
๘๐ เสียงเมือง | “ทิดโส สุดสะแนน” ยุคอีสานบุกกรุงฯ
๘๗ ที่นี่…กรมราษฎรส่งเสริม | ครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์ เกษตรประณีต เป็นไฉน
๙๑ ทักษิณคดี | ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์ “มลายู เดย์” และกลุ่มชาติพันธุ์ในแหลมมลายู
๙๗ ฮุ่งเฮืองเมืองปราชญ์ | ธันยพงศ์ สารรัตน์
พัฒนาการของหัวเมืองอีสานในพุทธศตวรรษที่ ๒๔ (๔)
การขยายอำนาจของราชสำนักกรุงเทพฯ
สู่หัวเมืองลาวฝ่ายตะวันออก* [จบ]
๑๐๘ ล้านนาคดี | พรพล ปั่นเจริญ เตียนก๊ก (๓)
๑๑๐ ข่าวคนอีศาน | “เวศม์ เวฬุคาม”
๑๑๓ นอกเครื่องแบบ | สมพงษ์ ประทุมทอง เซียงเมี่ยงคือใคร ใครคือเซียงเมี่ยง
๑๑๔ ดูชะตาวันเดือนปี | กอง บ.ก.
๑๑๖ ตำนานเก่าเล่าสนุก | วรรณะ วิมล สะพานต่อต้านคอมมิวนิสต์
๑๑๘ ฮีตปราชญ์คองสงฆ์ | ผศ.ดร. สุขพัฒน์ อนนท์จารย์
พระราชปริยัติโสภณ (ถนอม เหลาลาภะ) เจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น (ม)
๑๒๖ เฮาอยู่ยะลา | สฤษดิ์ ผาอาจ ในมือเธอ (จบ)
๑๓๐ นวนิยาย | ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ ศรีโคตรบูร ตอน ๒๒
๑๓๕ หงายหลังถ่วน | “ปลัดตื้อ” แกงอ่อมบักนุ่น
๑๓๖ เรื่องสั้น | “ดุลยภัทร” ผมชื่อโค้ก
๑๔๐ เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย | “ชัด การชนะ”, ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์ ค่าทิป
๑๔๓ วิถีชาวนา | “ลูกพระแม่โพสพ” “การตีข้าว” หยาดเหงื่อเพื่อเมล็ดข้าว
๑๔๕ ผักหญ้าหมากไม้ | ผศ.ดร.ไชยยง รุจจนเวท จากใบชาถึงใบเมี่ยง
๑๕๐ ฮูปแต้มอีศาน | “เลือดผา” ฮูปแต้มวัดขอนแก่นเหนือ
๑๕๒ ศิลปะนำชีวิต | “ครูเบิ้ม เติมศิลป์” ภาพประมูล ต้นทุนจากนํ้าใจ ผลกำไรคือกุศล
๑๕๗ สาส์นลึบให้สูญ | “บุญมา ภูเม็ง” หยุม ๆ ทื้น ๆ
๑๕๘ เฮือนชานศิลปิน | ไพบูลย์ ธรรมเรืองฤทธิ์ จ.ส.อ. เด่น ปัชชา
๑๖๐ ปิดเล่ม | กอง บ.ก.