นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 55

นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 55

฿100.00

เรื่องเด่น
– คอลัมน์ใหม่ เขียนมนุษย์ – ช่วง มูลพินิจ
– คอลัมน์ใหม่ แม่ช้อยนางรำ – สันติ เศวตวิมล
– กอดต้นไม้ร้องไห้ – ครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์
– คณะหมอลำพันปีบ้านสาวะถี – ศรายุทธ วังคะฮาต
– ประวัติศาสตร์ใน “จตุคามรามเทพ” – ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์

สินค้าหมดแล้ว

หมวดหมู่: ป้ายกำกับ:

รายละเอียด

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๕๕
ปีที่ ๕ ประจำเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๙
ฉบับ: ไว้อาลัยรัชกาลที่ 9 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

เรื่องเด่น
– คอลัมน์ใหม่ เขียนมนุษย์ – ช่วง มูลพินิจ
– คอลัมน์ใหม่ แม่ช้อยนางรำ – สันติ เศวตวิมล
– กอดต้นไม้ร้องไห้ – ครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์
– คณะหมอลำพันปีบ้านสาวะถี – ศรายุทธ วังคะฮาต
– ประวัติศาสตร์ใน “จตุคามรามเทพ” – ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์

เนื้อหา
๓ ทางกวี | ศิวกานท์ ปทุมสูติ
๗ สาส์นจาก “ทางอีศาน”
๑๐ บทบรรณาธิการ | ปรีดา ข้าวบ่อ “บักหุ่ง” – “ตำบักหุ่ง”
๑๑ เขียนแผ่นดิน | เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ขิดศรีฐาน
๑๒ ห้องศิลป์อีศาน | ธีรภาพ โลหิตกุล มงคลชีวิตที่หนองประจักษ์
๑๖ จดหมาย | อารมณ์ สโมรินทร์, อรุณ ประดับสินธุ์
๑๗ เขียนมนุษย์ | ช่วง มูลพินิจ
๑๘ บทความพิเศษ | ดร.อำคา แสงงาม จิตวิญญาณทุ่งกุลา (ตอนที่ ๑)
๓๐ เปิดผ้าม่านกั้ง | ยุทธพงศ์ มาตย์วิเศษ พุทธปรินิพพาน ในตำนานอุรังคธาตุ
๓๔ ส่องเมือง | เสรี พงศ์พิศ เราทุกคนล้วนเป็นผู้อพยพ
๓๘ ตามรอยเส้นทางสายวัฒนธรรม พระปาจิต นางอรพิม | ดร.รังสิมา กุลพัฒน์ (๑๐) ถํ้าเป็ดทอง และจารึกปฏิวัติ
๔๓ สาส์นลึบให้สูญ | “บุญมา ภูเม็ง” กาฝาก
๔๔ ไขป่องเอี้ยม | “คำฝอย คนโซ” คะลำ
๔๕ มรดกวัฒนธรรมจากบ้านจิมฯ | “ศิรเทพ ๑๑๐๗๘” พระหริหระ สุโขทัย
๕๐ เฮฮาสาระ | สหภพ ปานทอง
๕๒ แม่ช้อยนางรำ | สันติ เศวตวิมล ทำไมจึงใช้ชื่อ “แม่ช้อย”
๕๕ ปรัชญาอีสาน | วีระ สุดสังข์ คำผญา (๑๐) ของกินบ่กินมันเน่า ของเก่าบ่เล่ามันลืม
๕๖ คำถิ่นกลิ่นอายแขฺมร์ | “เขาบังภู” นางแดด – ผึ่งแดด – ตากแดด – ฟ้าแดดสงยาง (๒)
๖๐ ลูกเถ้าแก่บ้านนอก (เจ๊กโคก) | สุรินทร์ ภาคศิริ, สมศักดิ์ มงคลวงศ์ จากอีสานสู่ญี่ปุ่น
๖๓ เสียงเมือง | “ทิดโส สุดสะแนน” จากเพลงพื้นบ้าน สู่ลูกทุ่งอีสาน (ตอน ๒) ยุคเพลงลูกทุ่งอีสานรุ่งเรือง
๖๖ ข่าวคนอีศาน | “เวศม์ เวฬุคาม”
๗๐ นอกเครื่องแบบ | สมพงษ์ ประทุมทอง ภูมิรัฐศาสตร์ภาคอีสาน และการลุกขึ้นสู้ของชาวอีสาน (๔) ภูมิหลังของภาคอีสาน
๗๔ ฮุ่งเฮืองเมืองปราชญ์ | ธันยพงศ์ สารรัตน์ ความสำคัญของ “ส่วยขี้ผึ้ง” ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.๒๓๒๕ – ๒๔๑๑)
๙๒ ท้าวไซยคำเลาะทัวร์ | วรวิทย์ ตงศิริ พระธาตุโพธิ์ทอง
๙๘ ฮีตปราชญ์คองสงฆ์ | ผศ.ดร. สุขพัฒน์ อนนท์จารย์ พระราชวิสุทธิมุนี (เยื้อน หฤทัยถาวร) เจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ (ธ)
๑๐๖ นักเขียนอีสาน | “เจน อักษราพิจารณ์” พล.ต.อ. วสิษฐ เดชกุญชร : นายตำรวจนักเขียนอาชญนิยายของเมืองไทย ผู้รับใช้ใต้เบื้องพระยุคลบาท
๑๑๐ คำเก่าอย่าฟ้าวลืม | “อินทร์ ลงเหลา” ชุมนุมสิ่งศักดิ์สิทธิ์อีศาน
๑๑๖ วิถีผู้ไท | เพ็ญศรี นิลโสม (๙) ตำนานภูนํ้าจั้น ตอน “บันทึกรักบนชั้นหิน”
๑๒๑ ที่นี่…กรมราษฎรส่งเสริม | ครูบาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธิ์ กอดต้นไม้ร้องไห้
๑๒๔ ตำนานเก่าเว่าม่วน | “วรรณะ วิมล” กลอนประวัติลาวละว้า
๑๒๕ เวทีพี่น้อง | ศรายุทธ วังคะฮาต คณะหมอลำพันปีบ้านสาวะถี : สืบวิถีหมอลำทำนองขอนแก่น
๑๒๘ ทักษิณคดี | ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์ ประวัติศาสตร์ใน “จตุคามรามเทพ”
๑๓๓ บทกวี | “ก้อนดินหินแห่” ฟางเส้นสุดท้าย
๑๓๔ เฮาอยู่ยะลา | สฤษดิ์ ผาอาจ เจ้ะบุญ แก้วคำ (๑)
๑๓๘ เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย | “ชัด การชนะ”, ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์ คำเต็มของ ตม.
๑๔๐ ข่วงบักจุก | “จุก ชายคา”
๑๔๑ เรื่องสั้น | อุทิน บุนยาวง เขียน ชัยรัตน์ พลมุข แปล ตายอย่างหมา
๑๔๔ หงายหลังถ่วน | “ปลัดตื้อ” วันพระอภัยทาน
๑๔๕ ธารอักษร | “ภูขวัญ” ฟ้าหม่น
๑๔๗ นวนิยาย | ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์ ศรีโคตรบูร ตอน ๓๐
๑๕๒ เฮ็ดกิน | “นางพาวน้อย” เอาะหลาม
๑๕๔ ผักหญ้าหมากไม้ | ผศ.ดร.ไชยยง รุจจนเวท (ผู้ชาย) กินอะไรทำให้เป็นหมัน
๑๕๘ ตำนานเก่าเว่าม่วน | “เลือดผา” ฮูปแต้มวัดบ้านประตูชัย
๑๖๐ ปิดเล่ม | กอง บ.ก.

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com