สภาพเศรษฐกิจและการเมืองอีสานในห้วง ๒๔๗๕
ในอดีต ชาวอีสานส่วนใหญ่มีอาชีพทําเกษตรกรรม และมีหน้าที่ตามพันธะของการควบคุมคนในระบบไพร่ ทําให้ต้องทํางานรับใช้มูลนายหรือส่งสิ่งของในท้องถิ่นเป็นส่วยเพื่อทดแทนการทํางาน จึงอาจกล่าวได้ว่า สภาพเศรษฐกิจอีสานก่อนมีทางรถไฟเป็นเศรษฐกิจแบบยังชีพหรือพึ่งตนเอง
“๒๔ มิถุนา ๒๔๗๕” ต้นธารประชาธิปไตย
ความหอมหวนของแนวคิดรักชาติ รักประชาธิปไตย ปรารถนาให้บ้านเมืองเจริญทัดเทียมอารยประเทศ แวดล้อมจิตใจคนหนุ่มสาวยุคนั้นให้กระชับมั่นเป็นกลุ่มพวกเดียวกัน ไม่มีสถาบัน ไม่มีรุ่น ไม่มียศชั้น ไม่มีไพร่ผู้ดี มีแต่อนาคตอันสดใสอันเกิดแต่แสงสว่างแห่งรัฐธรรมนูญที่ฉายให้เห็นเสรีภาพ ความเสมอภาค และภราดรภาพ
ฮีตเดือนเจ็ด
คำว่า ซำฮะ (ชำฮะ) หมายถึง การชำระล้างสิ่งที่เป็นความชั่วร้าย หรือสิ่งเลวร้ายที่เกิดจากนํ้ามือของมนุษย์ การทำบุญซำฮะเป็นงานบุญที่นิยมทำกันในเดือน ๗ ทั้งข้างขึ้นและข้างแรม เรียกว่า บุญซำฮะบ๋าเบิก
ทางอีศาน 38 : ปิดเล่ม
สภาพเศรษฐกิจและสังคมอีสานในช่วงทศวรรษ ๒๔๗๐ – ๒๔๘๐ อันเป็นยุคเริ่มต้นของระบอบประชาธิปไตยนั้น น่าใส่ใจศึกษาค้นคว้าให้มากขึ้นอีก “ทางอีศาน” ฉบับนี้ทำได้เพียงสรุปเสนอภาพกว้าง ๆ อย่างย่อ ๆ ไว้ก่อนเท่านั้นทางรถไฟที่สร้างมาถึงโคราช (พ.ศ. ๒๔๔๓)
สาส์นจากสุชาติ สวัสดิ์ศรี
กล่าวคือ"ทางอีศาน" เป็นเหมือน Regional Magazine แห่งพื้นภูมิของคนอีสาน ที่มีคำขวัญบอกว่า "ของชาวอีสานและคนไทยทุกภูมิภาค" ผมเป็นห่วงความอยู่รอดของเขา เพราะขณะนี้ก็จัดทำมาเป็นฉบับที่ 38 ของปีที่ 4 แล้ว น่ามหัศจรรย์ยิ่งนัก ก็ไม่รู้เหมือนกันว่า บรรณาธิการผู้ก่อตั้งจะต้องพบกับอุปสรรคหนักหนาสาหัสอย่างไรบ้าง
ทางอีศาน 38 จดหมาย
คอลัมน์: จดหมาย Column: Letters นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๓๘ ปีที่ ๔ ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๘ ฉบับ: สภาพอีสานในห้วงปฏิวัติประชาธิปไตย ๒๔๗๕