เงินตราโบราณ ในอีสานบ้านเฮา (ตอนที่ ๒)

เงินฮ้อยคือเงินที่มีนํ้าหนักสิบบาท แต่คนลาวจะเรียกว่าฮ้อยหนึ่งหรือร้อยหนึ่ง อนึ่ง เงินฮ้อยมิใช่เงินที่หล่อด้วยเงินแท้ ๆ เป็นเงินชนิดปน คือเขาเอาทองสำริดหรือทองขาว (ทองแดงหรือดีบุก) มาหลอมสูบในไฟไล่ขี้โลหะออกไปหลาย ๆ หน จนหมดตะกั่วและชินที่อยู่ในเนื้อทองสำริด ผสมกับเนื้อเงินแท้ ๆ ในสัดส่วนเงินหนัก ๑๐ สลึง ทองสำริดหนัก ๗ บาท ๒ สลึง (รวมนํ้าหนักเป็น ๑๐ บาท) แล้วนำไปหลอมจนละลายเทลงในแม่พิมพ์จะได้เงินฮ้อยหนึ่งแท่ง

คำเต็มของ ตม.

พันตำรวจโทคำแพง เป็นนายด่านตรวจคนเข้าเมือง (ตม.) นครพนม ท่านมีลูกสาวสวย สิบตำรวจโทคำตา ประจำอยู่ที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองที่ทำงานดีมาก จึงมีโอกาสได้เป็นลูกเขยของพ่อเฒ่าพันโทคำแพงแบบไม่ยากนัก

[๗] ปาจิต อรพิม ในงานศิลปะ (๒) วัดบ้านยางทวงวราราม อายุ ๒๒๐ ปี

ภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องพระปาจิต และนางอรพิม ที่ปรากฏรอบสิมวัดบ้านยางนั้น อยู่ล้อมรอบบริเวณสิมหรืออุโบสถ แต่อยู่ในลำดับล่างสุด โดยมีเรื่องพระมาลัย และพระเวสสันดรอยู่ข้างบนตามลำดับ ซึ่งเป็นการยากที่จะเข้าใจเรื่องราวที่แต้มไว้หากผู้มาเยือนขาดความเข้าใจในขนบของจิตรกรรมฝาผนังสิมอีสาน โดยเรื่องราวที่ปรากฏล้อมรอบสิมวัดบ้านยางนี้

ไม้สองนาง ผีสองนาง

คนโบราณเมื่อพบเห็นปรากฏการณ์อะไรที่ “ไม่ปกติ” แปลกแตกต่างจากปรากฏการณ์ทั่ว ๆ ไป ย่อมมองว่ามันเป็น “กรณีพิเศษ” และกรณีพิเศษก็ย่อมมีผลให้เกิดอะไร ๆ ที่ไม่ปกติได้ทั้งในทางร้ายและ/หรือทางดี

ความเปลี่ยนแปลง

เว้าแล้วต้องเฮ็ด เฮ็ดให้สุด ขุดให้ถึง ผิดถืกค่อยว่ากัน สิ่งใด๋ดียกยอขึ้น สิ่งใด๋บ่ดีแก้ไข ทั้งเฮ็ดทั้งเฮียนคู่กันไป ความผิดบ่ไซ้ความซั้ว ความซั่วคือบ่เปลี่ยนแปลง
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com