Visions for Mo Lam in Mainland Southeast Asia : การก้าวข้ามพรมแดนทางวัฒนธรรมดนตรี
In the old days music of Isan or Northeast Thailand was rarely known or appreciated by outsiders. It was considered an inferior music; the musicians and singers (molam) were looked down by people or musicians of other cultures. The Isan people themselves, especially educated people---college students and professors, also felt insecure in their arts.
สายธาร นิทานอีสาน
นิทานเป็นส่วนหนึ่งในการสะท้อนชีวิต ค่านิยม และความเชื่อของผู้คนในสังคม เป็นเรื่องราวที่ผู้คนบอกเล่าสืบต่อกัน จากรุ่นปู่สู่รุ่นพ่อ จากรุ่นพ่อสู่รุ่นลูก รุ่นหลาน สืบสานกันไปเรื่อย ๆ แฝงคำสอนใจ แฝงบทเรียนเป็นเสมือนมรดกตกทอดของแต่ละสังคม ภาคอีสานมีนิทาน ตำนานมากมายหลากหลายประเภททั้งนิทานชาดก นิทานกลอนลำ นิทานก้อม ซึ่งส่วนมากเล่ากันมาแบบปากต่อปาก (มุขปาฐะ)
วัฒนธรรมบ่อน้ำ น้ำส้าง น้ำส้างแส่ง
นึกย้อนไปถึงฤดูร้อน พ.ศ. ๒๕๐๗ ณ หมู่บ้านชาวกวยแถบเชิงเขาพนมดองแร็ก เมื่อคราวเป็นเด็กน้อยอายุ ๖-๗ ขวบ เคยตามแม่ไปตักน้ำตั้งแต่ฟ้ายังไม่สว่าง แม่ให้ไปเป็นเพื่อน สงสัยว่าทำไมต้องไปแต่เช้ามืดขนาดนี้ พอไปถึงก็เห็นผู้หญิงทั้งสาวและวัยกลางคนนั่งบ้าง ยืนบ้าง มือก็จับไม้คานไว้ รอคิวตักน้ำ ใครที่ได้ตักน้ำก่อนก็จะได้หาบน้ำใสสะอาดกลับบ้าน
เนียง ด็อฮ ทม นางนมใหญ่
ตำนานเรื่อง “เนียง ด็อฮ ทม” (นางนมใหญ่) แพร่หลายอยู่ในจังหวัดสุรินทร์ มีนิทานเกี่ยวกับนางนมใหญ่ (ด็อฮ ทม หรือ เดาะทม) อยู่สองเรื่อง คือเรื่องเกี่ยวกับเมืองภูมิโปน กับเรื่องเกี่ยวกับเมืองสุรพินทนิคม เดือนนี้ขอเล่าเรื่องแรกก่อนครับ
น่าเสียดายที่ผู้คนผ่านไปผ่านมาทางสุรินทร์โดยไม่รู้ว่า ที่อำเภอสังขะมีโบราณสถานปราสาทวัฒนธรรมเจนละที่เก่าแก่ที่สุดในดินแดนไทยตั้งอยู่ นั่นคือปราสาทภูมิโปน
เพลงรำโทน มาจนถึงเพลงรำวง
กลองโทนของภาคอีสานที่ใช้กันประจำมีอยู่ ๒ แบบ ตัวกลองทำด้วยไม้เนื้อแข็ง หนังหน้ากลองจะใช้หนังวัว โทนชนิดนี้เวลาตีจะมีเสียงดังแน่นและเป็น ที่นิยมใช้ เพราะใช้ได้ทนนานคุ้มค่า
นิทานประจำถิ่น ปาจิต อรพิม และฉบับตำนานเมืองพิมาย [๓]
คำว่า ปาจิต อรพิม เป็นคำที่ผู้เขียนเลือกใช้เพื่อแสดงความเป็นกลาง ท่ามกลางความหลากหลายของการสะกดชื่อตัวละครเอกของนิทานเรื่องนี้ ในปัญญาสชาดก เรียก พระปาจิตตนางอรพิมพ์ ในวรรณกรรมคำกลอน เรียก พระปาจิตต นางออระภิม