บทบาทของท้าวพมแห่งอัตตะปือ ในการช่วยเจ้าฟ้างุ่มรวบรวมดินแดนล้านช้าง

กองทัพของเจ้าฟ้างุ่มยกขึ้นไปจากอาณาจักรพระนครหลวง จะต้องผ่านดินแดนลาวใต้ก่อน ข้อมูลประวัติศาสตร์ช่วงนี้ ยังมีน้อยในเอกสารภาษาไทย ข้าพเจ้าจึงปริวรรตถ่ายคำข้อมูลเหล่านี้จากเอกสารภาษาลาว “ปะวัดติสาด และกานเคื่อนไหวปะติวัด อัตตปือ” เขียนโดย ท่านบุนทัน จันทะกาลี หน้า ๔๕ - ๔๘ ดังต่อไปนี้

พิณ แคน ซอ โปงลาง โหวด

พิณ แคน ซอ โปงลาง และโหวด เป็นดนตรีพื้นเมืองอีสานที่ใช้บรรเลงประกอบกับการละเล่นต่าง ๆ มีบทบาทเป็นที่นิยมของคนทั่วไปโดยเฉพาะ “แคน” ถูกยกให้เป็น “ราชาแห่งดนตรีพื้นเมืองอีสาน” “พิณ” เป็น “ราชินีแห่งดนตรีพื้นเมืองอีสาน”

กลอนบทละคร (๒)

เจ้าสตรีที่แต่งเรื่องอิเหนาและดาหลังในสมัยอยุธยาคือ เจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ พระราชธิดาของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ดูจากคำกลอนข้างต้น ก็น่าจะคิดว่า เรื่องอิเหนาและดาหลังที่ทรงแต่งไว้นั้นเป็นบทละคร และต้องแพร่หลายเป็นที่นิยมมาก

คนกับกลอน

วรรณคดีและชีวิตสามัญ คือคลังแห่งภาษา ภาษาคืออาวุธสำหรับการดำรงชีวิต การเลี้ยงชีพให้มีความสุข การดำรงชีวิตให้อยู่รอด (ในโลกที่แสนจะโหดร้าย) ต้องพึ่งพาภาษาอย่างมาก ขั้นต้นคือภาษาพูด

ห า ก เ งี ย บ งั น คื อ ร่ำ ล า ฉั น เ ข้ า ใ จ

หรืออาจเป็น ความผิดเพี้ยน ของความรัก ที่เกิดจาก ซากหัก ของโขดหิน ที่เกิดจาก หยดน้ำ ร่วงสู่ดิน ที่เกิดจาก แหว่งวิ่น ของคืนวัน
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com