“หนังสือ” ไม่มีวันตาย

สำหรับประเทศไทย ถือกันว่า “หมอบรัดเลย์” มิชชันนารีชาวอเมริกัน เป็นผู้นำแท่นพิมพ์และตัวพิมพ์อักษรไทยมาใช้ในประเทศไทยเป็นคนแรกเมื่อ พ.ศ.๒๓๗๘

นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 127

นิตยสาร “ทางอีศาน” ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๒๗ ประจำเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๕ ภาพปก : สหภพ ปานทอง ๐ ทวี รัชนีกร : ปรากฏการณ์แห่งอุดมการณ์สู่งานศิลปะฯ รายงานของ นงค์ลักษณ์ บัทเลอร์ ๐ ‘บท’ ไขปริศนา ‘กำเนิดจามเทวี’ ไขโดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา ๐ ‘แบ่งปัน’ และ ‘จากลา’ บันทึกชีวิตใหม่ ปาริชาติ รักตะบุตร ๐ สมปอง ดวงไสว เล่าเรื่อง ‘อีสานบ้านฉัน’ หนึ่งบันทึกจากปลายพู่กัน อนุวัฒน์ จักรทุม ๐ “เจน อักษราพิจารณ์” รำลึก มลฤดี พรหมจักร : ตำนานลำภูไท “สาวนักเรียนตำตอ” ๐ เรื่องสั้นของ สมพงษ์ สุริโย ~ ๓๙ ปีที่น้ำตาแม่ร่วงหล่นบนลานกกแก

ปิดเล่ม ทางอีศาน ๑๒๖

กรณีวิกฤต “โรคห่าตำปอด” ที่ลามระบาดไปทั่วโลกร่วม ๓ ปีนั้น แหละแล้ววันคืนที่ทุกคนรอคอยก็มาถึง ต้องบันทึกไว้ว่าเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขประกาศยกเลิกโรคโควิด-19 จากโรคติดต่ออันตรายเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวัง มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ นี้เป็นต้นไป

ภาพฝัน โดย สมคิด สิงสง

ผมตั้งชื่อสวนว่า “วนเกษตรอินทรีย์วิถีคนกับควาย เฮือนดินตีนภู” เพราะมันเป็นพื้นที่ทำการเกษตรแบบผสมผสาน ในเนื้อที่ ๓๐ ไร่ที่พ่อแม่แบ่งปันให้เป็นที่ทำกิน

ท่องเที่ยววัฒนธรรม “ทางอีศาน” ครั้งที่ 3 มุ่งหน้าแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ ( 5 ) อาจารย์เสรี พงศ์พิศ นำเที่ยวบ้านท่าแร่

อาจารย์เสรี พงศ์พิศ นำเที่ยวบ้านท่าแร่ - ชุมชนชาวคริสต์นิกายโรมันแคทอลิกที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ชมตึกเก่ากำแพงหิน - สถาปัตยกรรมสไตล์อินโดจีนฝรั่งเศสที่มีเอกลักษณ์และเทคนิคการก่อสร้างเฉพาะตน
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com