ทางอีศาน ฉบับที่ 145

ฉบับที่ ๑๔๕ ปีที่ ๑๓ ประจำเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๗ อ่านงานเขียนจากนักคิดนักเขียนมากมาย อาทิ 0 สดใส ขันติวรพงศ์ > อำนาจของดนตรี และบทกวีลำนำ 0 ดุลยภาค ปรีชารัชช > วิจารณ์มหากาพย์ชนชาติไท “เต้าตามไต เต้าทางไท” 0 ทิพภา ปลีหะจินดา > สัมภาษณ์พิเศษ “เจ้าเสือหาญฟ้า” 0 ชัชชล ไทยเขียว > “เสียงแห่งการขัดเกลา” ระฆังสำริดและระนาดหินในดนตรีราชสำนักจีนฯ 0 ชุมชน สืบวงศ์ > เรื่องเล่าจาก “เต้า”~“เสียง” “เต้าทางไท~ทางดนตรี”ฯ 0 สุชาติ สูงเรือง > นายฟอง สิทธิธรรม นักการเมืองติดคุกแต่สร้างวัดได้ 0 “ภาชน์ขวัญ” > นางในวรรณคดี “สุมุณฑา” พระเจ้าอาของ “สินไซ” 0 สมปอง ดวงไสว > คอกควายศิลปสถาน : แก่นสารชีวิต โชคชัย ตักโพธิ์ พบกวี : ชาตรี เสงี่ยมวงศ์, “หินสีครีม”, เจตส์ ตรังเค, ประภาศ ปานเจี้ยง, ”ไพฑูรย์ ธัญญา“, นิตา มาศิริ, นรเศรษฐ์ ทับทิมทอง, ปราโมช ปราโมทย์, “บุญมา ภูเม็ง”, มหาจัน อินทุพิราด, “รุ่งกานท์ มณีคำ” ภาพประดับปกโดย โชคชัย ตักโพธิ์

มหากาพย์เต้าทางไท

“ทางอีศาน” (ไม่อยากเชื่อ ปีที่ 12 แล้ว) ฉบับมีนาคม 2567 ผมเจาะจงอ่านเรื่อง “ด้ำเสือ ด้ำไท ไทใหญ่ จากอดีตถึงปัจจุบัน” เหตุเพราะเรื่องนี้ความยาว 9 หน้า อาจารย์ชลธิรา สัตยาวัฒนา เขียนแนะนำหนังสือเล่มสวยปกแข็ง สามเล่มหนา ชุด มหากาพย์ชนชาติไท “เต้าตามไต เต้าทางไท” (สำนักพิมพ์ทางอีศาน) โจทย์ใหญ่ที่ผมคงต้องใช้เวลาอ่านอีกหลายวัน

ทริปใจฟู

เป็นทริปที่รู้สึกอิ่มเอมและมีความสุขที่สุดทริปหนึ่ง ทำให้ใจฟูมากๆ ทริปนี้ทำโดยนิตยสารทางอีศาน ตอนจะไปนี่แบบไม่ถามเลยว่าจะให้ค่าตอบแทนเท่าไหร่ยังไง เพราะพอรู้ว่าคนร่วมทริปจำนวนหนึ่งเป็นคนอีสานที่กระจัดกระจายไปอยู่ตามที่ต่างๆ แล้ววันหนึ่งจะกลับไปเที่ยวอีสานแค่นี้ก็พอละสำหรับผม เพราะรู้สึกว่าการสนับสนุนความเคลื่อนไหวของท้องถิ่นนั้นสำคัญ
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com