TAO Dialogue 1 เวทีสังสันทน์ ว่าด้วยเรื่อง “เต้า”
มหากาพย์ชนชาติไท บรรพสอง “เต้าตามไต เต้าทางไท” กำลังใกล้จะสำเร็จเป็นรูปเล่มเพื่อให้บริการทางวิชาการแก่สาธารณชน โดยผู้เขียนทั้งสองถือเป็น ‘วิทยาทาน’ แก่สังคม
TAO Dialogue 2 “เต้า” สนทนา จากประสบการณ์อ่านวรรณคดี บนฐานคิด ‘มานุษยวิทยาสัญนิยม’
บนฐานคิดที่ว่า ‘ภาษา’ มีชีวพันธุกรรมต้นกำเนิด มีการแตกตัว เคลื่อนไหว เดินทาง กระจายตัว แม้ถูกกลืนกลาย ก็ยังสาวหารากร่วมได้ โดยการใช้ ‘กุญแจคำ’ ไขรหัสสิ่งที่เป็น ‘วัฒนธรรมร่วมเชื้อสาย’
สาส์นจากทางอีศาน – เชิญชวนท่องเที่ยววัฒนธรรมทางอีศาน (ครั้งที่ ๓)
เชิญชวนท่องเที่ยววัฒนธรรมทางอีศาน (ครั้งที่ ๓) 0 “เที่ยวแอ่งอารยธรรมอีสานเหนือ ~ สกลนคร”
ระหว่างวันที่ ๒๑-๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๕
ตุ้มโฮมเพื่อนมิตรโดย นิตยสาร|มูลนิธิ| “ทางอีศาน” # นำเที่ยวโดย รศ.ดร.เสรี พงศ์พิศ และคณะวิทยากรชำนาญการ
ติดต่อ/ประสานงาน คุณแตงกวา ๐๘๖ ๓๘๘ ๙๐๙๕, คุณปุ๊ก ๐๘๖ ๓๗๘ ๒๕๑๖
รากเหง้ามีทั้งดีและเน่าเสีย
คำขวัญของนิตยสารรายเดือนทางอีศาน คือ “ลึกซึ้งรากเหง้า เข้าใจปัจจุบัน รู้ทันอนาคต” “รากเหง้า” ถ้าไม่ลึกซึ้งแล้ว เราจะไปเข้าใจและรู้ทันอะไรไม่ได้เลย
นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 125
นิตยสาร “ทางอีศาน” ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๒๕ ประจำเดือนกันยายน ๒๕๖๕ ภาพปก : สมเกียรติ เสียงวังเวง
เรื่องเด่นในฉบับ ๐ โส้ (โทรฺ) ในแอ่งสกลนคร ~ สถิตย์ ภาคมฤค
๐ เกษตร ๑๒ เดือน : ชูรสชูค่าทะเลเกลือใต้พื้นพิภพ ~ นงค์ลักษณ์ บัทเลอร์ ๐ ศิลปินถิ่นอีศานใต้ - ป.ฉลาดน้อย ส่งเสริม ~ “เจน อักษราพิจารณ์”
๐ มินธาดา ปักษาพันธ์ มือปูนปั้นยอดเยี่ยมเยาวชน ~ สมปอง ดวงไสว
๐ เรื่องสั้น หญิงสาวบนสะพานไม้ ~ วงเดือน ทองเจียว ๐ ผีปอบหรือผู้ป่วย ~ เฮฮาสาระกับ สหภพ ปานทอง
๐ พบกวี ; ชาตรี เสงี่ยมวงศ์, “บุญมา ภูเม็ง”, “แม่น้ำ เรลลี่”, มาลินี อเนกา, วรรณา วงค์ฉายา, นิตา มาศิริ
ปิดเล่ม ทางอีศาน 124
กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ มีการเลือกตั้งผู้ว่าทุก ๔ ปี การเลือกตั้งครั้งล่าสุดก่อนรัฐประหารของ คสช. มีขึ้นเมื่อวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๖ ผ่านมาถึง ๙ ปีจึงมีการเลือกตั้งเกิดขึ้นเมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา