เมืองแห่งหอมแดง

พี่น้องชาวบ้านแถบ อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ ปลูกหอมกันมาก เรียกว่าเมืองแห่งหอมหัวแดง แห่งหนึ่งก็ได้ และบางส่วนได้บุกเบิกปลูกแบบอินทรีย์ นำชื่อเสียงมาสู่เกษตรกรถ้วนหน้า

งาน “แห่มาลัยข้าวตอก” ประจำปี 2565

งานประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก เป็นงานยิ่งใหญ่ของพี่น้องชาว อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร ปีนี้กำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 10 - 15 กุมภาพันธ์ ที่จะถึงนี้ ผมตรงดิ่งไปที่วัดหอก่อง ชมพิพิธภัณฑ์ และสนทนาธรรมกับหลวงพี่ที่กำลังประดับธงตบแต่งสถานที่

ประชาธิปไตยในระดับชุมชนท้องถิ่น : มุมมองทางสังคมวิทยาการเมือง

แนวคิดเรื่องประชาธิปไตยในระดับชุมชนท้องถิ่นสมัยใหม่ หลักใหญ่เป็นแนวคิดที่สนับสนุนเรื่องการกระจายอำนาจและความรับผิดชอบออกจากรัฐบาลส่วนกลาง ไปสู่ระดับชุมชนท้องถิ่น อันได้แก่ หมู่บ้าน ตำบล เทศบาล อำเภอ หรือเมือง ฯลฯ โดยมีเป้าหมายให้ประชาชนซึ่งอยู่ในชุมชนท้องถิ่นแต่ละแห่งเป็นผู้ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการกระจายอำนาจ ดังกล่าว

ตำนานหนองหารเมืองสกลนคร

หนองหาร, หนองหาน, หนองหาญ ไม่ว่าจะเขียนอย่างไรก็สุดแท้แต่เหตุผลของผู้นิยมชมชอบ เพราะต่างก็มีเหตุผลในการเขียนกันทุกคน ผู้เขียนขอใช้คำว่า “หนองหาร” ตามที่ปรากฏในงานเขียนส่วนใหญ่นิยมใช้กัน ในครั้งนี้จะเขียนข้อขบคิดที่เกิดจากงานภาคสนาม ที่ทำให้เกิดเสน่ห์ชวนหลงใหลคือ ตำนานหนองหารของจังหวัดสกลนคร มีความเกี่ยวพันกับตำนานและวรรณกรรมอื่น ๆ อย่างน้อยที่สุดมีอยู่ ๒ เรื่อง คือ ตำนานฟานด่อน กับตำนาน กระฮอกด่อน (ผาแดงนางไอ่) เกี่ยวพันกันในคนละมิติและต่างก็มีพยานหลักฐานกันทั้งสิ้น เมื่อกล่าวถึงตำนานหนองหารเมืองสกลนคร จึงมักอ้างถึง ๒ ตำนานนี้เสมอ และสำนึกรู้ของคนในท้องถิ่นเองก็มักได้ยินได้ฟังสองตำนานเสมอมา แม้ภายหลังมีการสงสัยและพยายามสร้างแนวคิดตำนานเดียวขึ้นก็ตามที

“คราม” สีย้อมแห่งชีวิต

คราม คือ ความอมตะ คือราชาแห่งสีย้อม เป็นหนึ่งในสีธรรมชาติที่เก่าแก่มากสีหนึ่งของโลกที่มนุษย์ใช้มายาวนานกว่า ๖,๐๐๐ ปี สีครามติดดี ติดทนลึกเข้าไปในเส้นใย

“มื้อออกใหม่เดือนสาม”

วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นและเกี่ยวพันกับ “ข้าว” ของพี่น้องชาวไท - ไต โดยเฉพาะอย่างยิ่งทั่วทั้งอุษาคเนย์ เรียกว่า “วัฒนธรรมข้าว” คือ สายโยงใยชีวิตจิตวิญญาณของผู้คนในเขตโขงนี้ตั้งแต่เกิดจนตาย จนเกิดเป็นฮีตสิบสองคองสิบสี่ และธรรมนูญร่วมกัน
WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com