นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 25

เลือกได้ตามใจเธอ

พ่อเฒ่านง มีลูกเขยชื่อว่าบักมี บักมีมันเป็นผู้หมั่นเฮ็ดเวียกเฮ็ดงาน ขยันพอสมควร ซึ่งกะเป็นที่พอใจของพ่อเฒ่านงหลาย ถือว่าลูกสาวเลือกผัวได้ถืกต้อง บ่ขี้คร้านคือลูกเขยผู้อื่นแต่ว่าบีกมีมันอยากเป็น คนหล่วง (ล่วงเกิน) แหน่จั๊กหน่อย มักสอดรู้ สอดเห็น พูดจาเสียดแทงกระทบคนนั้นกระทบคนนี้อยู่บ่อย ๆ แต่พ่อเฒ่านงก็ไม่ถือสา

ชาดกเรื่องพระโสณะและพระนันทะเลี้ยงดูบิดามารดา

พระโพธิสัตว์ (อดีตชาติของพระพุทธเจ้า) เสวยพระชาติเป็น พระโสณะ บุตรคนโตของพราหมณ์สามีภรรยาคู่หนึ่ง มีน้องชายนามว่า พระนันทะ เมื่อเจริญวัยขึ้นบิดาและมารดาประสงค์ให้พระโสณะแต่งงานมีครอบครัว ทําหน้าที่ดูแลทรัพย์สมบัติสืบไป แต่พระองค์ปฏิเสธ

เงินตราโบราณ ในอีสานบ้านเฮา (ตอนที่ ๘)

เงินตราอีกชนิดหนึ่งซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างดีในหมู่คนเฒ่าคนแก่ของพี่น้องชาวอีสานและพี่น้องชาวลาว อาจมีชื่อเรียกต่าง ๆ นานาว่า เงินฮางบ้าง เงินเฮือบ้าง เงินลาดบ้าง ตามแต่ละท้องถิ่นจะเรียกขานกัน แต่เงินตราชนิดนี้มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า “เงินลาด” เป็นคำที่บรรพบุรุษคนลาวเรียกขานกันมาตั้งแต่ในอดีต

ผักเสี้ยวหน้าแล้ง

พูดถึง ผัก หลายคนคงนึกถึง ผักกาด ผักคะน้า แตงกวา มะเขือเปราะ ถั่วฝักยาว และผักอื่น ๆ ที่เห็นจนชินตาตามแผงขายผัก เรามักเข้าใจว่า ผักเป็นพืชล้มลุก อายุไม้ยืน ต้องมีคนปลูก เจริญเติบโต และมีรสชาติดีในหน้าหนาว แต่ในฤดูกาลที่ร้อนแล้งเช่นนี้ถ้าชี้ไปที่ต้นไม้ริมทางชนิดหนึ่งแล้วบอกว่า นี่แหละเป็นผักที่จะเอามาทำกินกันเย็นนี้คงมีคนสงสัยว่า เป็นไปได้หรือ

อีศานปุระ

อีศาน (สันสกฤต), อีสาน (บาลี) แปลว่า ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ อีศาน, อีสาน แปลว่า พระศิวะ หรือพระรุทร อีศาน, อีสาน แปลว่า พระอีศาน-เทพเจ้าผู้ครองทิศตะวันออกเฉียงเหนือ อีศาน, อีสาน เคยเป็นชื่อแคว้นโบราณแคว้นหนึ่งในสุวรรณภูมิ ชื่อเต็มว่า อีศานปุระ

ปณิธานของนิตยสาร “ทางอีศาน”

ปณิธานของนิตยสาร “ทางอีศาน” คือ เราจะรวบรวมองค์ความรู้จากผู้รู้ จากเพื่อนมิตรทุกภูมิภาคและทั่วโลก นำมาปรับประสานกับเป้าหมายเฉพาะโดยหยั่งลึกถึงรากเหง้า ถ่องแท้ในอัตลักษณ์ของชาติพันธุ์วรรณนา แล้วแผ่เชื่อมโยงถึงกันทั่วประเทศและทั่วสากลจักรวาล สร้างสำนึกรักถิ่นตน ขณะเดียวกันก็ก้าวพ้นการหลงยึดอยู่กับลักษณะเฉพาะถิ่น... ก้าวย่างที่ผ่านมาเราได้รับความคิดเห็น และคำแนะนำจากผู้อาวุโสผู้รู้ และนักวิชาการหลายท่าน

ทางอีศาน 25 : เบิ่งไทย

ปัญหาความเหลื่อมลํ้าในไทยเมื่อดูจากดัชนีความเหลื่อมลํ้า เหมือนกับว่าความเหลื่อมลํ้าของไทยดูจะดีขึ้น แต่หากดูตัวเลขกันจริง ๆ เมื่อเปรียบกับประเทศอื่นอีกหลายประเทศในเอเชีย พบว่าความเหลื่อมลํ้าของไทยสูงกว่าประเทศอื่น

นิตยสาร “ทางอีศาน” ฉบับที่ ๒๕

ปีที่ ๓ เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๗

ฉบับขึ้นปีที่ ๓

เรื่องเด่น:

– อาณาจักรอีศานปุระ: แอ่งอารยธรรม ๑๔๐๐ ปี

– เสี่ยว “ในชาติพันธุ์อีศาน”

– ผญาอีสาน “ฮีตสิบสอง”

– นักเขียน “ศักดิ์ สุริยา”

– อวสาน “กาบแก้วบัวบาน”

เนื้อหาภายในเล่ม

๓ สาส์นจาก “ทางอีศาน”

๑๐ บทบรรณาธิการ ก้าวขึ้นสู่ปีที่ ๓

๑๑ จดหมาย | “ทานตะวันป่า”, รางวัลฯ “ดอกจานในบทกลอน อาภรณ์แห่งทุ่งแล้ง”

๑๓ กวีเสกศิลป์แม่นํ้าร้อยสาย | ศิวกานท์ ปทุมสูติ, ทนง โคตรชมภู

๑๖ เบิ่งโลก / เบิ่งไทย / เบิ่งอีสาน

๒๒ วันวานกับวันหน้า | “โชติช่วง นาดอน”

ยุทธศาสตร์พลังงานพอเพียง”

๒๔ แสงเงาคมคำ | “สันติภาพ นาโค”

ความเป็นธรรม

๒๗ เรื่องจากปก | กอง บ.ก.

อีศานปุระ

๓๘ ล้านนาคดี | “อิน ลงเหลา”

ดินแดนล้านนาร่วมสมัยกับอีศานปุระ

๔๒ เขียนแผ่นดิน | เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์

ผาแต้ม

๔๔ สารคดีรางวัล โครงการสื่อศิลป์ฯ | มงคลฤทธิ์ มณีเลิศ

คน โขง ความทรงจำ พลัดพรากและพบพาน

๕๒ บทกวี | “เดือนดวงเดิม”

ทางอีศาน” ก้าวขึ้นปีที่ ๓

๕๔ อุษาคเนย์เห่กล่อม | “จินตรัย”

การศึกษาในมือเรา เอาลูกหลานอยู่ สู่ปฏิวัติ ! (๑)

๕๘ อัตลักษณ์แห่งชาติพันธุ์อีศาน | วีระ สุดสังข์

เสี่ยวในชาติพันธุ์อีศาน

๖๓ เดินทวนหนทาง | สมคิด สิงสง

คนกับควาย” ความหมายนั้นลึกลํ้า

๗๐ คำถิ่นกลิ่นอายแขฺมร์ | “เขาบังภู”

ละลม – ละลูน – ตลุกชงโค

๗๓ ข่วงบักจุก | “จุก ชายคา”

๗๔ บ้านเขาเมืองเรา | สนั่น ชูสกุล

เรื่องสั้น – สภาเห็บ

๘๒ ข่าวคนอีศาน | “เวศม์ เวฬุคาม”

๘๖ นอกเครื่องแบบ | สมพงษ์ ประทุมทอง

ปริศนาปลาคาบของ

๘๘ นักเขียนอีสาน | เจน อักษราพิจารณ์

ศักดิ์ สุริยา” ราชาเรื่องบู๊จากที่ราบสูง

๙๐ ทักษิณคดี | “จิน เส้าหลิน”

หลางหยาซิว (หลั่งยะสิว) 狼牙脩

๙๔ เมืองอีสานเมื่อพันปี | ผศ. ดร.รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง

ชาดกเรื่องพระโสณะและพระนันทะเลี้ยงดูบิดามารดา

๙๖ รากเมือง | กาย อินทรโสภา

เงินตราโบราณในอีสานบ้านเฮา (ตอนที่ ๘)

๙๙ โลกนิติคำกาพย์ภาษาลาว | กอง บ.ก.

บทร้อยกรองของพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจฺนโท จันทร์) พ.ศ. ๒๓๙๙ – ๒๔๗๕

๑๐๐ กลอนลำฮีต-คอง | สุนทร ชัยรุ่งเรือง

ประเพณีเดือนหก

๑๐๒ ผญาอีสาน | ประสาสน์  รัตนะปัญญา

ฮีตสิบสอง

๑๐๔ ผักหญ้าหมากไม้ | ผศ.ดร.ไชยยง รุจจนเวท

ผักเสี้ยวหน้าแล้ง

๑๐๘ หมออีศาน | ศ.นพ.อมร เปรมกมล

ไข้เส้นกับอีสานรวมมิตร

๑๑๐ ส่องเมือง | เสรี พงศ์พิศ

เงินกับความหมายของชีวิต

๑๑๓ แก่นเมือง | ชินวัฒน์ ตั้งสุทธิจิต

หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ

๑๑๗ เสียงเมือง | “มหา สุรารินทร์”

คารวะ “แม่ทัพเตียวหุย” ด้วยเพลงลูกทุ่ง

๑๒๒ หอมดอกผักกะแญง | อัตชีวประวัติ พงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา

ก่องข้าวน้อยฆ่าแม่

๑๓๐ เรื่องเล่าชุดพ่อเฒ่ากับลูกเขย | “ชัด การชนะ”, ศิลป์วัตร วิศาลศักดิ์

เลือกได้ตามใจเธอ

๑๓๒ นวนิยาย | ณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์

กาบแก้วบัวบาน ตอน ๒๕ (อวสาน)

๑๔๐ เฮาอยู่ยะลา | สฤษดิ์ ผาอาจ และ จารุณี ศรีหริ่ง

มาทิเซ่น ณ ตู้แช่แข็งใบใหญ่ที่สุดใบเดิม

๑๔๗ เรื่อย ๆ มาเรียง ๆ | “ปกรณ์ ปกีรณัม”

แสงแดด / SPF

๑๔๘ เที่ยวทั่วทีป | นัทธ์หทัย วนาเฉลิม

ชาววิทย์พิชิตใจชาวบ้าน

๑๕๐ ห้องศิลป์อีศาน | ธีรภาพ โลหิตกุล

โขงนทีสีทันดร ตอน ๔ หลงอดีตสู่ต้นธารล้านนา ณ ชัยบุรีศรีเชียงแสน

๑๕๔ ศิลปะนำชีวิต | “ครูเบิ้ม เติมศิลป์”

สัญจรสอนศิลป์ถิ่นแดนใต้บนเกาะสมุย

๑๕๙ เฮือนชานศิลปิน | ไพบูลย์ ธรรมเรืองฤทธิ์

ชำนาญ ปรางสุข

๑๖๐ ปิดเล่ม | กอง บก.

พร้อมเนื้อหาอันลึกซึ้งถึงรากเหง้า จากคอลัมน์ต่าง ๆ ในเล่ม และเรื่องสั้น – เรื่องยาว กวี สาระบันเทิงต่าง ๆ ครบครัน และเข้มข้นเช่นเคย

WP2Social Auto Publish Powered By : XYZScripts.com