ระดมทุนทรัพย์เพื่อจัดพิมพ์หนังสือที่ระลึกแด่ ทนง โคตรชมภู
เมื่อข่าวการเสียชีวิตของทนง โคตรชมภู แพร่กระจายไป ความรู้สึกและข้อเขียนถึงมนุษย์ผู้หัวใจไม่ยอมแพ้ก็หลั่งท้นในเฟซบุ๊ก
ทนง โคตรชมภู : ความรัก ศิลปะ ที่สุดปลายปีกฝัน
“แม้ร่างกายผมจะเหลือเพียง ๑๐ เปอร์เซ็นต์ที่ใช้ได้ แต่ผมก็จะใช้ ๑๐ เปอร์เซ็นต์ที่มีอยู่ให้เต็มร้อย”
นี่คือเสียงจากชายพิการชื่อ ทนง โคตรชมภู ชีวิตของเขาผ่านร่องรอยความบอบช้ำมามากมาย แต่ด้วยพลังของงานศิลปะทำให้เขาได้ถ่ายทอดจินตนาการลงในแผ่นเฟรม และนับมันเป็นความสุขของชีวิต
ทนง โคตรชมภู มนุษย์ผู้หัวใจไม่ยอมแพ้
ทนง โคตรชมภู เขาพิการแขนขาลีบหมดเรี่ยวแรงตั้งแต่อายุ 13 ปี เขาให้แม่เหลาไม้ไผ่ทำด้ามพู่กัน ฝึกใช้ปาก กล้ามเนื้อคอ ควบคุมทำงาน ใช้สายตามุ่งมั่นเก็บรายละเอียด ใช้สมองที่เต็มไปด้วยจินตนาการออกคำสั่งสร้างสรรค์งาน
ทางอีศาน 38 : ปิดเล่ม
สภาพเศรษฐกิจและสังคมอีสานในช่วงทศวรรษ ๒๔๗๐ – ๒๔๘๐ อันเป็นยุคเริ่มต้นของระบอบประชาธิปไตยนั้น น่าใส่ใจศึกษาค้นคว้าให้มากขึ้นอีก “ทางอีศาน” ฉบับนี้ทำได้เพียงสรุปเสนอภาพกว้าง ๆ อย่างย่อ ๆ ไว้ก่อนเท่านั้นทางรถไฟที่สร้างมาถึงโคราช (พ.ศ. ๒๔๔๓)
รำวงโบราณ อีสานย้อนยุค
หนุ่มสาวรำลอดผ่านซุ้มมีกติกาว่าเวลาหนุ่มสาววนมาถึงซุ้มสาวนางรำจะรอจังหวะให้หนุ่มเผลอแล้ววิ่งลอดผ่านซุ้มไปให้เร็ว เพราะถ้าหนุ่มวิ่งทันกันในซุ้มก็จะมีสิทธิ์ กอด หรือแตะต้องตัวสาวได้เฉพาะอยู่ในซุ้ม รำวงลอดถํ้าจึงเป็นที่นิยมสนุกสนาน ไม่เกินเลย ไม่เคยมีเรื่อง ทุกคนถือเป็นการละเล่นไม่ได้ล่วงเกินหากำไร
ทนง โคตรชมภู มนุษย์ผู้หัวใจไม่ยอมแพ้
ทนง โคตรชมภู เขาพิการแขนขาลีบหมดเรี่ยวแรงตั้งแต่อายุ 13 ปี เขาให้แม่เหลาไม้ไผ่ทำด้ามพู่กัน ฝึกใช้ปาก กล้ามเนื้อคอ ควบคุมทำงาน ใช้สายตามุ่งมั่นเก็บรายละเอียด ใช้สมองที่เต็มไปด้วยจินตนาการออกคำสั่งสร้างสรรค์งาน