ศุขปรีดา พนมยงค์ กับงานเขียนถึงผู้นำประเทศเพื่อนบ้าน
'ศุขปรีดา พนมยงค์' กับผลงานเขียนอันทรงคุณค่าที่บอกเล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์ประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ “โฮจิมินห์ เทพเจ้าที่ยังมีลมหายใจ” "หวอเหงียนย้าปจอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์" และ “รำลึก 100 ปี เจ้าชายแดง เรียนรู้ประวัติศาสตร์ลาวผ่านชีวิตเจ้าสุพานุวง” ผลงาน 3 เล่มที่ผู้เขียนได้ทุ่มเททั้งแรงใจและแรงกาย ค้นคว้าหาข้อมูล อีกทั้งยังเดินทางไปสัมภาษณ์เรื่องราวเหล่านั้นด้วยตัวท่านเอง
ท่องเที่ยววัฒนธรรม “ทางอีศาน” ครั้งที่ 3 มุ่งหน้าแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ ( 7 )
ตื่นตาตื่นใจและยืดกำลังขา ณ ปราสาทพระธาตุภูเพ็ก ดินแดนลอยฟ้าศักดิ์สิทธิ์ของอาณาจักรขอมโบราณ สมัยพุทธศตวรรษที่ 16 บนยอดเขาภูเพ็ก สูงจากระดับน้ำทะเล 520 เมตร สร้างด้วยหินทราย เรือนธาตุตั้งบนฐานยกสูง ตอนหน้าของปราสาทมีฐานหินเรียงซ้อนกัน มีบาราย ด้านหน้าอาคารปราสาททางทิศตะวันออกมีบันไดก่อปูนขึ้นบนยอดเขาเกือบห้าร้อยขั้น
ท่องเที่ยววัฒนธรรม “ทางอีศาน” ครั้งที่ 3 มุ่งหน้าแอ่งอารยธรรมอีศานเหนือ ( 6 )
~ ชมพิพิธภัณฑ์เมืองสกลนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร พาชมโดย อาจารย์สถิตย์ ภาคมฤค พร้อมทีมงานและลูกศิษย์
~ ชมห้องแห่งแรงบันดาลใจของ จิตร ภูมิศักดิ์
“หนังสือ” ไม่มีวันตาย
สำหรับประเทศไทย ถือกันว่า “หมอบรัดเลย์” มิชชันนารีชาวอเมริกัน เป็นผู้นำแท่นพิมพ์และตัวพิมพ์อักษรไทยมาใช้ในประเทศไทยเป็นคนแรกเมื่อ พ.ศ.๒๓๗๘
นิตยสารทางอีศาน ฉบับที่ 127
นิตยสาร “ทางอีศาน” ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๒๗ ประจำเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๕ ภาพปก : สหภพ ปานทอง ๐ ทวี รัชนีกร : ปรากฏการณ์แห่งอุดมการณ์สู่งานศิลปะฯ รายงานของ นงค์ลักษณ์ บัทเลอร์ ๐ ‘บท’ ไขปริศนา ‘กำเนิดจามเทวี’ ไขโดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา ๐ ‘แบ่งปัน’ และ ‘จากลา’ บันทึกชีวิตใหม่ ปาริชาติ รักตะบุตร ๐ สมปอง ดวงไสว เล่าเรื่อง ‘อีสานบ้านฉัน’ หนึ่งบันทึกจากปลายพู่กัน อนุวัฒน์ จักรทุม ๐ “เจน อักษราพิจารณ์” รำลึก มลฤดี พรหมจักร : ตำนานลำภูไท “สาวนักเรียนตำตอ” ๐ เรื่องสั้นของ สมพงษ์ สุริโย ~ ๓๙ ปีที่น้ำตาแม่ร่วงหล่นบนลานกกแก
ปิดเล่ม ทางอีศาน ๑๒๖
กรณีวิกฤต “โรคห่าตำปอด” ที่ลามระบาดไปทั่วโลกร่วม ๓ ปีนั้น แหละแล้ววันคืนที่ทุกคนรอคอยก็มาถึง ต้องบันทึกไว้ว่าเมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๕ ที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขประกาศยกเลิกโรคโควิด-19 จากโรคติดต่ออันตรายเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวัง มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ นี้เป็นต้นไป